ไฟฟ้าสถิต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ไฟฟ้าสถิต by Mind Map: ไฟฟ้าสถิต

1. ศักย์ไฟฟ้า

1.1. ศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

1.1.1. V=KQ/R

1.1.2. Vใน=Vผิว

1.2. V = kQ/R มีหน่วยเป็นV (เป็นปริมาณสเกลาร์)

1.3. คิดเครื่องหมายของประจุไฟฟ้า

1.4. ปิดจุดที่สนใจ คิดศักย์รอบจุดนั้น

2. พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ

2.1. U=1/2QV

2.2. U=1/2Q^2/C

2.3. U = 1/2 CV^2

3. งานในการเลื่อนประจุ

3.1. WAB=q( VB - VA ) มีหน่วยเป็น J

3.2. งานจะไม่ขึ้นอยู่กับเส้นทาง

3.3. q คือประจุที่ถูกเลื่อน(คิด+,-)

3.4. คักย์จุดสิ้นสุด - ศักย์จุดเริ่มต้น Va-Vbหมายความว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง a กับ bลบกัน

4. แรงระหว่างประจุ F

4.1. จะต้องเขียนแรงที่กระทำต่อประจุ ถ้าเหมือนกันจะผลักกัน และถ้าต่างกันจะดูดกัน รวมแรงของเวกเตอร์ โดยที่จะไม่ติดเครื่องหมาย

5. ตัวเก็บประจุ ( C )

5.1. 1. ต่อแบบอนุกรม

5.1.1. Q รวม = Q1 = Q2

5.1.2. V รวม = V1 + V2

5.1.3. 1/Cรวม = 1/C1 + 1/C2

5.2. 2. ต่อแบบขนาน

5.2.1. Vรวม = V1 + V2

5.2.2. Qรวม = Q1 + Q2

5.2.3. Cรวม = C1 + C2

6. ประจุไฟฟ้า

6.1. ประจุบวก

6.1.1. 1.6คูณ10^-19C

6.2. ประจุลบ

6.2.1. 1.6คูณ10^19C

7. แรงไฟฟ้า / แรงคูลอมบ์

7.1. 1. แรงดูด ประจุชนิดต่างกัน

7.2. 2. แรงผลัก ประจุชนิดเหมือนกัน

7.3. กฎของคูลอมบ์

7.3.1. สูตรF=KQ1Q2/R^2

7.3.1.1. K=ค่าคงตัวของคูลอมบ์

7.3.1.2. Q1=ประจุตัวที่1 หน่วย C

7.3.1.3. Q2=ประจุตัวที่2 หน่วย C

7.3.1.4. R=ระยะห่างระหว่างประจุ มีหน่วย m

7.3.2. สนใจประจุตัวไหนตัวนั้นโดน

8. สนามไฟฟ้า ( E )

8.1. สนามไฟฟ้าจากแผ่นตัวนำคู่ขนาน

8.1.1. E=V/d มีหน่วยเป็น V / m

8.1.2. เส้นสมศักย์ = เส้นที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน

8.2. สนามไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

8.2.1. Eผิว = Emax = kQ / R^2

8.2.2. ประจุบวก Qกระจายอยู่บนผิวนอกนั้น

8.3. E=F/Q หน่วย N/C

8.4. สูตร E = kQ / R^2