ไฟฟ้าสถิต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ไฟฟ้าสถิต by Mind Map: ไฟฟ้าสถิต

1. การต่อตัว C

1.1. อนุกรม (ประจุไม่แยกไหล)

1.1.1. ดังนั้น Qรวม = Q1 = Q2 Vรวม = V1 = V2 1/C รวม = 1/C1 + 1/C2

1.2. แบบขนาน (ประจุแยกไหล)

1.2.1. Vรวม = V1 = V2 Qรวม = Q1 + Q2 Cรวม = C1 + C2

1.2.1.1. พ.ท.ใต้กราฟ = 1/2 × ฐ × ส = 1/2 × V × Q

1.2.1.1.1. U = 1/2 QV U = 1/2 CVยกกำลัง2 U = 1/2 Qยกกำลัง2/C

2. ศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

2.1. V = kQ/R

3. สนามไฟฟ้าจากตัวนำคู่ขนาน

3.1. E = ∆V/d หน่วย V/m E มีหน่วย N/C E มีหน่วย V/m

4. กฎของคูลอมบ์

4.1. F = kQ1Q2/Rกำลัง2

4.1.1. k = ค่าตัวคูลอมบ์ (9×10ยกกำลัง9 N.mกำลัง2/Cกำลัง2)

4.1.2. R = ระยะระหว่างประจุ หน่วย m

4.1.3. Q1 = ประจุตัวที่1 หน่วย C

4.1.4. R = ระยะระหว่างประจุ หน่วย m

5. แรงไฟฟ้า แรงคูลอมบ์

5.1. แรงผลัก => ประจุเหมือนกัน

5.2. แรงดูด => ประตูต่างชนิดกัน

6. ประจุไฟฟ้า

6.1. ประจุลบ มีประจุ -1.6×10ยกกำลัง-19 C มวล 9.1×10ยกกำลัง-31 kg

6.2. ประจุบวก มีประจุ +1.6×10ยกกำลัง-19 C มวล 1.67×10ยกกำลัง-27 kg

7. สนามไฟฟ้า(E) : บริเวณี่มีแรงไฟฟ้า

7.1. E = F/q หน่วย N/C

7.2. E = kQ/Rกำลัง2

7.3. Q = ประจุทดสอบสนามไฟฟ้า

7.4. q = ประจุที่ปล่อยสนามไฟฟ้า

8. สนามไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ

8.1. กำหนดให้ทรงกลมตัวนำมีประจุ +Q (ประจุ+Qกระจายอยู่บนผิวนอกเท่านั้น)

8.2. E = kQ/Rกำลัง2 (R วัดจากจุด ศูนย์กลางทรงกลม)

9. สนามไฟฟ้าที่มีขนาดคงที่

9.1. EA = EB = EC = ED เส้นสมศักย์ = เส้นที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน

9.2. ดังนั้น VA = VB -> ∆VAB = 0 ดังนั้น VA = VB > VC > VD

9.3. เส้นสมศักย์ V1 = V2 V3 = V4

10. งานในการเลื่อนประจุ

10.1. WA->B = q (VB -VA) หน่วย J

10.1.1. q = ประจุที่ถูกเลื่อน (คิด+,-) VA = ศักย์ไฟฟ้าที่ A VB = ศักย์ไฟฟ้าที่ B VB - VA = ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง A กับ B

11. หาเวกเตอร์ของคูลอมบ์

11.1. Fลัพธ์ = √F12 กำลัง2 + F32 กำลัง2

12. ตัวเก็บประจุ(C)

12.1. -ทำหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้า -ทำหน้าที่จ่ายประจุไฟฟ้า

12.1.1. C = ความประจุไฟฟ้า (F)

12.2. C = Q/V หน่วย C/V = F (Farad)

12.2.1. Q = ประจุไฟฟ้า (C)

12.2.2. V = ความต่างศักย์ (V)

13. ศักย์ไฟฟ้า

13.1. V = kQ/R หน่วย V (เป็นปริมาณ Scalar)

13.1.1. *คิดประจุที่สนใจ คิดศักย์รอบจุดนั้น *คิดเครื่องหมายของประจุไฟฟ้า

14. สถานะไฟฟ้า

14.1. เป็นทางกลางไฟฟ้า (+,-)

14.2. เป็นลบ (สูญเสียประจุบวก) (-,-)

14.3. เป็นบวก (สูญเสียประจุลบ) (+,+)