ภาวะเเทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 เเละ 2

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ภาวะเเทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 เเละ 2 by Mind Map: ภาวะเเทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 เเละ 2

1. 3.POsttrem

1.1. การตั้งครรภ์เกินกำหนด

1.2. สาเหตุ

1.2.1. 1.มีประวัติตั้งครภภ์เกินกำหนด

1.2.2. 2.ทารกมี Anencephaly

1.2.3. 3.ทารกที่ไม่มีต่อมใต้สมอง

1.2.4. 4.ทารกที่มีต่อมหมวกไตฝ่อ

1.2.5. 5.macrosomia

1.2.6. 6.CPD

1.3. ผลต่อทารก

1.3.1. 1.Midpelvis arrest

1.3.2. 2.Cord compression

1.3.3. 3.Meconium

1.3.4. 4.Dysmaturity

1.3.5. 5.Hypoglycemia

1.4. ผลต่อมารดา

1.4.1. วิตกกังวล

1.4.2. ได้รับอันตรายจากการคลอด

1.4.3. การฉีกขาดของช่องทางคลอด การติดเชื้อ การตกเลือดหลังคลอด

1.4.4. การกลั้นปัสสาวะไม่ได้

1.5. การรักษา

1.5.1. ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์

1.5.2. เตรียมกุมารเเพทย์คอยช่วยเหลือ

1.5.3. ให้ออกซิเจนอย่างเพียงพอ

2. 5.Shoulder dystocia

2.1. สาเหตุ

2.1.1. เกิดจากการไหล่กว้างเกินไป

2.2. ปัจจัยเสี่ยง

2.2.1. 1.องค์ประกอบก่อนการคลอด

2.2.2. 2.องค์ประกอบในการคลอด

2.3. ผอต่อทารก

2.3.1. ขาดออกซิเจน

2.3.2. บาดเจ็บขณะคลอด

2.3.3. อาจตายขณะคลอด

2.4. ผลต่อมารดา

2.4.1. การฉีกขาดของปากกามดลูก/ช่องคลอด/ฝีเย็บ

2.4.2. เสียเลือดมาก

2.5. การพยาบาล

2.5.1. ประเมินการคลอดไหล่ยาก

2.5.2. ให้การช่วยเหลือการคลอดไหล่ยาก

2.5.3. หลังคลอดประเมินสภาพร่างกายทารก

2.5.4. ดูเเลด้านจิตใจ

3. 1.PROM

3.1. ภาวะที่น้ำคร่ำรั่วหรือเเตก

3.2. สาเหตุ

3.2.1. 1.ประวัติครรภ์ก่อนมี PROM

3.2.2. 2.ปากมดลูกปิดไม่สนิท

3.2.3. 3.ประวัติตั้งครรภ์แฝด

3.2.4. 4.รกกลอกตัวก่อนกำหนด

3.2.5. 5.สูบบุหรี่ เศรษฐานะต่ำ ภาวะทุพโภชนาการ

3.3. การวินิจฉัย

3.3.1. 1.ประวัติ น้ำใสๆไหลออกทางช่องคลอด

3.3.2. 2.การตรวจร่างกาย ขนาดมดลูกลดลง

3.3.3. การรักษา

3.3.3.1. 1.รับไว้ในโรงพยาบาล

3.3.3.2. 2.หลีกเลี่ยงการตวจภายใน

3.3.3.3. 3.ถ้าไม่มีการติดเชื้อ รักษาเเบบประคับประคอง ถ้าพบว่า Infected ยุติการตั้งครรภ์

3.3.4. 3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.3.4.1. 1.Nitrazine paper test

3.3.4.2. 2.Fern test

3.3.4.3. 3.Ultrasound

3.3.4.4. 4.Nile blue test

4. 2.Preterm

4.1. การเจ็บครรภ์คลอดเเละการคลอดระหว่างอายุครรภ์ 28-37 สัปดาห์

4.2. การวินิจฉัย

4.3. พบว่ามี Uterine contraction อย่างน้อย 1 ครั้งใน 10 นาที

4.4. มีการบางเเละเปิดขยายของปากมดลูก

4.5. การดูเเลรักษา

4.6. 1.Bed rest ในท่านอนตะเเคง

4.7. 2.ตรวจภายในเพื่อประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก

4.8. 3.ตรวจดู Uterine contraction

4.9. 4.ฟัง FHS อย่างสม่ำเสมอ

4.10. 5.ให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์

5. 4.การคลอดยาDystociaก

5.1. การคลอดผิดปกติ การคลอดล่าช้า

5.2. ลักษณะการคลอดยาก

5.2.1. การคลอดยาวนาน

5.2.2. การคลอดล่าช้า

5.2.3. การคลอดหยุดชะงัก

5.3. ผลต่อมารดา

5.3.1. ติดเชื้อ

5.3.2. หนทางคลอดฉีกขาด

5.3.3. ตกเลือด

5.4. ผลต่อทารก

5.4.1. Infection

5.4.2. Fetal distress

5.4.3. Birth injury

5.5. การรักษา

5.5.1. 1.Good Antrnatal care

5.5.2. 2.ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์คลอดก่อนปากมดลูกจะพร้อม

5.5.3. 3.ดูเเลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวล

5.5.4. 4.อาจพิจารณาช่วยคลอดโดยสูติศาสตร์หัตถการ