การส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด by Mind Map: การส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด

1. ระยะที่ 3 ของการคลอด

1.1. การประเมินสภาวะของมารดา

1.1.1. อาการโดยทั่วไปของมารดา

1.1.2. จำนวนเลือดที่ออกจากช่องคลอด

1.1.3. การฉีกขาดของช่องทางคลอด

1.1.4. กระเพาะปัสสาวะ

1.1.5. การประเมินอาการแสดงของรกลอกตัว

1.1.5.1. Vulva sign

1.1.5.2. Cord sign

1.1.5.3. Uterine sign

2. ระยะที่ 4 ของการคลอด

2.1. การพยาบาลมารดาหลังคลอดใน 2 ชั่วโมงแรก

2.1.1. การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก

2.1.2. การประเมินลักษณะและปริมาณของเลือดที่ออกทางช่องคลอด

2.1.3. การประเมินสัญญาณชีพ

2.1.4. ประเมินกระเพาะปัสสาวะ

2.1.5. ตรวจดูแผลฝีเย็บว่ามีการบวมหรือมีเลือดออกใต้เยื่อบุผิว (hematoma) หรือไม่

2.1.6. ดูแลมารดาให้ได้รับอาหารและสารน้ำอย่างเพียงพอ

2.1.7. ประเมินความสะอาดของร่างกาย

2.1.8. ดูแลเกี่ยวกับความสุขสบายต่าง ๆ

3. การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด

3.1. การตรวจการหดรัดตัวของมดลูก

3.1.1. เพื่อตรวจสอบเป็นระยะๆดังนี้

3.1.1.1. Latent phase ทุก 30 นาที

3.1.1.2. Active phase ทุก 15-30 นาที

3.1.1.3. Transitional phase ทุก 15 นาที

3.1.1.4. Second stage ทุกๆครั้งที่มดลูกหดรัดตัว

3.1.2. interval duration intensity

3.2. ตรวจภายใน (Sterile vaginal examination)

3.2.1. วัดขนาดของเชิงกรานใน Diameter ต่างๆ

3.2.2. ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดเกี่ยวกับความบางและการเปิดขยายของปากมดลูก

3.2.3. ระดับส่วนนำของทารกเมื่อเปรียบเทียบกับ Pelvic Ischia spine

4. ระยะที่ 1 ของการคลอด

4.1. ระยะ Latent phase

4.1.1. เมื่อมดลูกหดรัดตัวกระตุ้นมารดาให้ใช้เทคนิคการหายใจแบบช้าๆลึกๆ (Slow deep chest breathing pattern)

4.1.2. ช่วยให้มารดานอนในท่าที่สุขสบาย

4.1.3. บอกมารดาให้ทราบเกี่ยวกับความก้าวหน้าของการคลอดระยะนี้ และอธิบายให้ทราบเกี่ยวกับกิจกรรมการพยาบาลที่ปฏิบัติต่อมารดา

4.1.4. ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอ่อน ในกรณีที่ยังไม่มีความก้าวหน้าของการคลอดเข้าสู่ระยะ Active phase และไม่มีความผิดปกติที่จำเป็นต้องงดน้ำงดอาการทางปาก

4.1.5. กระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 2 ชั่วโมง

4.2. ระยะ Active phase

4.2.1. เมื่อมดลูกหดรัดตัวกระตุ้นให้ใช้เทคนิคการหายใจเร็วตื้น (Shallow breathing)

4.2.2. ดูแลให้ผ่อนคลายกล้ามเนื้อบริเวณหลัง กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานและฝีเย็บ และช่วยนวดกล้ามเนื้อหลัง

4.2.3. การดูแลเกี่ยวกับความสุขสบาย

4.2.4. ดูแลให้ยาระงับปวดตามแผนการรักษา

4.2.5. ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง กระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 2 ชั่วโมง

4.2.6. ดูแลความสะอาดบริเวณช่องปากโดยการบ้วนปาก กลั้วคอด้วยน้ำสะอาด

4.3. ระยะ Transitional phase

4.3.1. อยู่ดูแลอย่างใกล้ชิด

4.3.2. การดูแลเกี่ยวกับความสุขสบาย

4.3.3. ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง กระตุ้นให้ปัสสาวะทุก 2 ชั่วโมง

4.4. การปฏิบัติเกี่ยวกับการฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์

4.4.1. ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกเพื่อตรวจสอบภาวะสายสะดือย้อย (Prolong of umbilical cord)

4.4.2. เมื่อมดลูกหดรัดตัวนานขึ้น ถี่ และแรง เพื่อตรวจสอบการได้รับออกซิเจนของทารก และการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ

4.4.3. ก่อนและหลังการให้ยาแก่มารดา และการเจาะถุงน้ำคร่ำ

5. ระยะที่ 2 ของการคลอด

5.1. การเตรียมสำหรับการคลอด

5.1.1. สถานที่ อุปกรณ์เครื่องใช้ในการทำคลอด

5.1.2. ผู้ทำคลอด

5.1.3. ผู้คลอด

5.1.3.1. แนะนำวิธีการเบ่งให้ผู้คลอด

5.1.3.2. การจัดท่าเบ่งคลอด

5.1.3.3. ดูแลให้ผู้คลอดรู้สึกสุขสบาย

5.2. การทำคลอดทารก

5.3. การดูแลผู้คลอด

5.3.1. การดูแลเกี่ยวกับการดำเนินการคลอด

5.3.1.1. การประเมินการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด

5.3.1.2. การประเมินการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ

5.3.1.3. การเจาะถุงน้ำ

5.3.2. การประเมินสภาพทารกในครรภ์

5.3.3. การประเมินสภาพผู้คลอด

5.3.4. น้ำและอาหาร

5.3.5. การพักผ่อน

5.3.6. กระเพาะปัสสาวะ