ระบบเครือข่ายและการสื่อสารคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบเครือข่ายและการสื่อสารคอมพิวเตอร์

1. อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1. โมเดม

1.1.1. ใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับสายโทรศัพท์มีหลักการทำงาน 2 ลักษณะ คือ รับข้อมูลดิจิทัลจากคอมพิวเตอร์มาเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลแอนนาล็อกแล้วส่งข้อมูลไปยังโทรศัพท์แล้วรับข้อมูลแอนนาล็อกที่ส่งมาจากสายโทรศัพท์มาเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลดิจิทัลแล้วส่งกลับไปยังคอมพิวเตอร์ ซึ่งสายโทรศัพท์เหล่านี้ จะรับและส่งข้อมูลเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอิ่นๆในเครือข่าย นิมยมใช้กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถรับและส่งผ่านสายยูทีพีได้

1.2. การ์ดแลน

1.2.1. ใช้เชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์กับสายนำสัญญาณการ์ดแลนทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับและส่งข้อมูลกับระบบเครือข่ายได้ มีลักษณะติดตั้งทั้งภายในและภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์

1.3. ฮับ

1.3.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องตฃคอมพิวเตอร์ในระบบแลนที่เชื่อมต่อเครือข่ายแบบคลาวด์

1.4. สวิทซ์

1.4.1. ใช้สำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรร์ต่างๆให้เป็นเครือข่ายเดียวกันหรือระหว่างเครือข่ายก็ได้ ทำงานต่างจากฮับ คือ ไม่ส่งสัญญาณไปทุกพอร์ต แต่จะส่งสัญญาณไปยังพอร์ตที่เรียกใช้งานเท่านั้น

1.5. รีพีตเตอร์

1.5.1. ทำหน้าที่ ทวนสัญญาณ คือช่วยขยายสัญญาณที่ส่งให้แรงขึ้น แต่มีข้อจำกัคือไม่สามารถกลั่นกรองข้อมูลที่ส่งผ่านได้

1.6. เราเตอร์

1.6.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือ Node หนึ่งในเครือข่าย ทำหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง มีความสามารถในการหาเส้นทางที่ดีที่สุดเพื่อส่งข้อมูลต่อไปยังเครือข่ายอื่น

1.7. บริดจ์

1.7.1. ทำหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมระหว่าง 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยถ้าข้อมูลที่ส่งออกมาในเครือข่ายหนึ่ง มีปลายทางไปอีกเครือข่า่ยหนึ่ง บริดจ์ก็จะส่งข้อมูลข้ามไปให้

1.8. เกตเวย์

1.8.1. เป็นอุปกรณ์สำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครือข่ายขึ้นไป มีกระบาวนการที่ซับซ้อนทำให้เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอรืที่ต่างประเภทและใช้เชื่อมต่อต่างชนิดกันได้ ทำให้สามารถรับและส่งข้่อมูลได้ทุกประเภทอย่างไม่มีข้อจำกัด

1.9. แอร์การ์ด

1.9.1. ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย โดยผู้ใช้งานจะต้่องใส่ซิมการ์ดแบบเดียวกับที่ใช้ในเครื่องโทรศัพท์เครื่องที่ไว้ภายใน ให้แอร์การ์ดส่งสัญญาณผ่านโทรศัพท์ที่ให้บริการ เมื่อใช้งานผู้ใช้จะต้องเชื่อมต่อแอร์การ์ดกับคอมพิวเตอร์ที่ต้องการใช้งานเครือข่ายผ่านทาง USB PORT แล้วเชื่อมต่อกับซอฟแวร์ที่ติดตั้งไว้ในคอมพิวเตอร์

1.10. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย

1.10.1. ทำหน้าที่คล้ายฮับใช้สำหรับเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สาย ซึ่งข้อมูลจะถูกส่งผ่านคลื่นวิทยุความถี่สูง โดยจะทำหน้าที่เชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆเข้าด้วยกันแบบไร้สาย

2. ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.1. ตัวกลางแบบมีสาย

2.1.1. สายคู่บิดเกลียว(TP)

2.1.1.1. ส่งข้อมูลได้ 1 Gb/1s

2.1.1.2. ในระยะทาง 100 m

2.1.1.3. มีราคาไม่แพง

2.1.1.4. นิยมใช้

2.1.2. สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวน(STP)

2.1.2.1. นิยมใช้ในสถานที่ที่มีสัญญาณรบกวนสูง

2.1.2.2. มีราคาแพงกว่าสายTP

2.1.3. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวน (UTP)

2.1.3.1. สะดวกในการเดินสาย โค้งงอได้ดี

2.1.3.2. สามารถป้องกันการรบกวนของเครื่องแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าสายSTP

2.1.3.3. มีราคาต่ำกว่าสายSTP

2.1.3.4. นิยมใช้เชื่อมต่ออุปกรณ์เครือข่ายทั่วไป

2.1.4. สายโคแอกหรือสายแกนร่วม

2.1.4.1. ใช้สำหรับสัญญาณถี่สูง

2.1.4.2. ปัจจุบันไม่นิยมนำมาใช้แล้ว

2.1.5. สายไฟเบอร์ออฟติกหรือเคเบิลใยแก้วนำแสง

2.1.5.1. ส่งข้อมูลได้มากกว่า 1 Gb/1S

2.1.5.2. ส่งข้อมูลได้ไกลหลายกิโลเมตร

2.1.5.3. เกิดการผิดพลาดในการส่งข้อมูลต่ำ

2.2. ตัวกลางแบบไร้สาย

2.2.1. คลื่นวิทยุ

2.2.1.1. คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ 10 กิโลเมตร- 1 กิ๊กกะเฮิร์ท

2.2.1.2. ใช้งานในการติดต่อสื่อสารกับระบบแลนไร้สาย

2.2.2. คลื่นไมโครเวฟ

2.2.2.1. คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ

2.2.2.2. มีการนำมาใช้งานแบบการสื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกด้วยกันและใช้สื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกกับดาวเทียม

2.2.3. อินฟราเรด

2.2.3.1. มีความถี่สูงกว่าไมโครเวฟแต่ต่ำกว่าความถี่ของแสงที่ตามนุษย์มองเห็นได้

2.2.3.2. ใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ

2.2.3.3. มักใช้ในการสื่อสารระยะใกล้ ไม่เกิน 10 เมตร

3. ความหมายและองค์ประกอบการสื่อสารข้อมูล

3.1. ทิศทางในการสื่อสาร มี 3 ประเภท

3.1.1. การสื่อสารทิศทางเดียว

3.1.1.1. ข้อมูลจะถูกส่งจากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางโดยไม่สามารถส่งข้อมูลย้อนกลับมาได้เช่น การกระจายเสียงจากสถานีวิทยุ

3.1.2. การสื่อสารสองทิศทางสวนกัน

3.1.2.1. ข้อมูลสามารถส่งกลับกันได้ 2 ทิศทาง แต่จะไม่สามารถส่งพร้อมกันได้ โดยต้องผลัดกันส่งครั้งละทิศทางเท่านั้น เช่น วิทยุสื่อสารแบบผลัดกันพูด

3.1.3. การสื่อสารสองทิศทางพร้อมกัน

3.1.3.1. ข้อมูลสามารถส่งพร้อม ๆ กันได้ทั้ง 2 ทิศทาง ในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบโทรศัพท์

3.2. องค์ประกอบการสื่อสาร

3.2.1. ผู้ส่งสาร

3.2.1.1. ทำหน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูลไปยังผู้รับข้อมูล

3.2.2. ผู้รับสาร

3.2.2.1. ทำหน้าที่เป็นผู้รับข้อมูลจากผู้ส่งสาร

3.2.3. ข้อมูล

3.2.3.1. สิ่งที่ผู้ส่งสารต้องการส่งให้ผู้รับสารที่ปลายทาง

3.2.4. ตัวกลางหรือสื่อนำข้อมูล

3.2.4.1. สิ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลาง ในการนำเสนอจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร

3.2.5. โพรโทคอล

3.2.5.1. ข้อตกลงหรือวิธีการสื่อสาร มนุษย์ในชีวิตประจำวันมักจะใช้ในโพรโทคอลขั้นพื้นฐานที่เรียนรูู้มาตั้งแต่เด็ก

3.3. สาระน่ารู้

3.3.1. การตอบสนอง

3.3.1.1. สิ่งที่ทำให้ผู้รับสารแสดงให้ผู้ส่งสารเห็นว่า ได้รับข้อมูลหรือสารแล้ว

4. ความหมายและชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.1.1. นำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อิเล็กทอนิกส์อื่นๆ โดยเชื่อมต่อผ่านตัวกลางเพื่อจุดประสงค์ในการใช้อุปกรณ์และข้อมูลต่างๆร่วมกัน ทำให้เกิดประโยชน์ ดังนี้

4.1.1.1. เพื่อการทำงานเป็นกลุ่ม

4.1.1.2. เพื่อการจัดการข้อมูลร่วมกัน

4.1.1.3. เพื่อการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

4.1.1.4. เพื่อการทำงานระยะไกล

4.2. ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.2.1. เครือข่ายPAN หรือ เครือข่ายส่วนบุคคล เป็นการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น จะเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุดเนื่องจากมีผู้ใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ครั้งละเพียง 1 คนเท่านั้นโดยมีจุดประสงค์ ดังนี้

4.2.1.1. ถ่ายโอน

4.2.1.2. คัดลอก

4.2.1.3. เเลกเปลี่ยน

4.2.2. เครือข่ายLAN หรือ เครือข่ายท้องถิ่นเป็นการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไป ในระยะทางใกล้ๆที่มีพื้นที่ไม่จำกัดเกิน 10 กิโลเมตร เพื่อสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้ใช้งานและผู้ใช้ข้อมูลหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ร่วมกันในกลุ่มเล็กๆหรือในองค์กรเดียวกัน

4.2.3. เครือข่ายMAN หรือ เครือข่ายที่เชื่อมโยงในเมืองเดียวกัน เชื่อมต่อระหว่างท้องถิ่มหรือสำนักงานที่มีอาคารหรือสำนักงานอยู่หลายพื้นที่ แต่อยู่ในประเทศหรือเมืองเดียวกัน ไม่นิยมเชื่อมต่อแบบไร้สาย เชื่อมต่อโดยการใช้โมเด็มช่วยในการแปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ผ่านทางสายโทรศัพท์

4.2.4. เครือข่ายWAN หรือ เครือข่ายระยะทางไกล เครือข่ายระดับประเทศ เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเนื่องจากเป็นการรวมหรือเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทุกประเภทให้สามารถใช้งานร่วมกันได้ มีการใช้ช่องทางเพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายที่หลากหลายทั้งการเชื่อมต่อแบบใช้สาย