ระบบเครือข่ายและการสื่อสารคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบเครือข่ายและการสื่อสารคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบเครือข่ายและการสื่อสารคอมพิวเตอร์

1. ความหมายและชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1. เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1.1. การนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

1.2. ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.2.1. 1. เพื่อการทำงานเป็นกลุ่ม

1.2.2. 2. เพื่อการจัดการข้อมูลร่วมกัน

1.2.3. 3. เพื่อการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

1.2.4. 4. เพื่อการทำงานระยะไกล

1.3. ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.3.1. 1. เครือข่ายแพน หรือเครือข่ายส่วนบุคคล

1.3.1.1. เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ (มีขนาดเล็กที่สุด)

1.3.2. 2. เครือข่ายแลนหรือเครือข่ายท้องถิ่น

1.3.2.1. เป็นการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์สองเครื่องในระยะใกล้ๆ เพื่อเป็นการสื่อสารระหว่างผุ้ใช้งาน

1.3.3. 3. เครือข่ายแมน หรือเครือข่ายเมือง

1.3.3.1. เป็นการเชื่อมต่อระหว่างสำนักงานทีมีอยู่หลายพื้นที่ในประเทศเดียวกัน

1.3.4. 4. เครือข่ายแวน หรือเครือข่ายระดับประเทศ

1.3.4.1. เป็นการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทุกประเภท ให้สามารถใช้งานร่วมกันได้

2. อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

2.1. 1. โมเดม

2.1.1. เป็นการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับสายโทรศัพท์

2.2. 2. การ์ดแลน

2.2.1. เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับสายนำสัญญานการ์ดแลน ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถรับและส่งข้อมูลกับเครือข่ายได้

2.3. 3. ฮับ

2.3.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กระจายช่องทางการสื่อสารข้อมูลได้หลายช่องทางในระบบเครือข่าย

2.4. 4. สวิตซ์

2.4.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่กระจายช่องทางการสื่อสารข้อมูลหลายช่องทางในระบบเครือข่าย คล้ายกับฮับ ต่างกันตรงที่ลักษณะการทำงานและความสามารถในเรื่องของความเร็ว

2.5. 5. Repeater

2.5.1. เป็นอุปกรณ์ใช้ขยายสัญญาน

2.6. 6. เราท์เตอร์

2.6.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่างชนิดกันหรือใช้โปรโตคอลต่างกัน เข้าด้วยกัน

2.7. 7. บริดจ์

2.7.1. เป็นอุปกรณ์เครือข่ายที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างสองเครือข่าย

2.8. 8. เกตเวย์

2.8.1. เป็นอุปกรณ์ที่ทำให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่าที่มีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถติดต่อกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน

2.9. 9. แอร์การ์ด

2.9.1. เป็นอุปกรณ์เครือข่ายแบบไร้สาย ผู้ใช้งานต้องใช้ซิมการ์ดเหมือนโทรศัพท์เพื่อใช้งาน

2.10. 10. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย

2.10.1. เป็นการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ไร้สาย โดยการส่งข้อมูลผ่านคลื่นวิทยุ

3. ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล

3.1. ทิศทางการสื่อสาร

3.1.1. 1. การสื่อสารทิศทางเดียว

3.1.1.1. เป็นการสื่อสารที่ผู้รับสารทำได้เพียงแค่รับสารเท่านั้น ไม่สามารถตอบรับได้ว่า ได้รับสารนั้น

3.1.2. 2. การสื่อสารสองทิศทางสลับกัน

3.1.2.1. เป็นการสื่อสารที่ผู้สื่อสารผลัดกันเป็นผู้รับสารและผู้ส่งสาร ซึ่งไม่สามารถทำพร้อมกันได้ในเวลาเดียวกัน

3.1.3. 3. การสื่อสารทิศทางพร้อมกัน

3.1.3.1. เป็นการสื่อสารที่ผู้ส่งสารและผู้รับสารผลัดันทำหน้าที่ในเวลาเดียวกัน

3.2. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล

3.2.1. 1. ผู้ส่งสาร

3.2.1.1. เป็นผู้ที่ส่งข้อมูลไปยังผู้รับสาร

3.2.2. 2. ผู้รับสาร

3.2.2.1. เป็นผู้ที่รับข้อมูลจากผู้ส่งสาร

3.2.3. 3. ข้อมูล

3.2.3.1. สิ่งที่ผู้ส่งสารต้องการส่งข้อมูลให้ผู้รับสารที่อยู่ปลายทาง

3.2.4. 4. ตัวกลางหรือสื่อนำข้อมูล

3.2.4.1. สิ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางที่นำข้อมูลจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร

3.2.5. 5. โพรโทคอล

3.2.5.1. ข้อตกลงหรือวิธีการสื่อสาร

4. ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.1. 1. ตัวกลางแบบมีสาย

4.1.1. 1.1 สายคู่บิดเกลียว

4.1.1.1. 1.1.1 สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวน (STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกอีกชั้นเพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า นิยมใช้ในสถานที่ที่มีสัญญาณรบกวนสูง แต่มีราคาแพง

4.1.1.2. 1.1.2 สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณ (UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่ไม่มีลวดถักชั้นนอกทำให้สะดวกในการเดินสายเพราะโค้งงอได้ดี แต่สามารถป้องการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อย มีราคาต่ำ

4.1.2. 2. สายโคแอกซ์หรือสายแกนร่วม

4.1.2.1. เป็นสายสัญญาณที่มีสายทองแดงเดี่ยวเป็นแกนกลาง หุ้มด้วยฉนวนเพื่อป้องกันไฟรั่ว จากนั้นหุ้มด้วยลวดทองแดงเป็นตัวกั้นสัญญาณรบกวนและหุ้มชั้นนอกด้วยพลาสติก สายโคแอกซ์ที่พบในชีวิตประจำวัน

4.1.3. 3. สายไฟเบอร์ออปติก

4.1.3.1. ทำจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูง ใช้แสงในการสื่อสารข้อมูลทำให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้

4.2. 2. ตัวกลางนำสัญญาณไร้สาย

4.2.1. คลื่นวิทยุ

4.2.1.1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 กิโลเฮิร์ตซ์ ถึง 1 กิกะเฮิร์ท ใช้งานในการติดต่อสื่อสารในระบบแลนไร้สาย

4.2.2. คลื่นไมโครเวฟ

4.2.2.1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ มีการนำมาใช้งานทั้งในแบบการสื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกด้วยกัน และใช้สื่อสารระหว่างสถานี บนพื้นโลกกับดาวเทียม

4.2.3. อินฟราเรด

4.2.3.1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าไมโครเวฟแต่ต่ำกว่าความถี่ของแสงที่ตามนุษย์มองเห็นได้ ใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ