ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ by Mind Map: ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

1. อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์

1.1. โมเดม ใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์กับสายโทรศัพท์ มีหลักการทำงาน 2 ลักษณะุุกล่าวคือรับข้อมูลดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์มาเปลี่ยนให้เป็นข้อมูลแอนะล็อกแล้วส่งข้อมูลไปยังสายโทรศัพท์แล้วรับข้อมูลแอนะล็อกที่ส่งมาจากสายโทรศัพท์มาเปลี่ยนข้อมูลเป็นข้อมูลดิจิตอลแล้วส่งกลับไปยังคอมพิวเตอร์

1.2. การ์ดแลน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์กับสายนำสัญญาณในปัจจุบันเม็นบอร์ดมักจะติดอุปกรณ์นี้มาพร้อมแล้ว

1.3. ฮับ เป็นศูนย์กลางของการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบ LAN ที่เชื่อมต่อเครือข่ายแบบ DAWN

1.4. สวิตซ์ โดยการทำงานทำงานของสวิตซ์จะส่งข้อมู,ออกไปเฉพาะพอร์ตที่ใช้ในการติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีปลายทางเท่านั้นไม่ส่งกระจายข้อมูลไปยังทุกพอร์ตเหมือนอย่างฮับ

1.5. รีพีตเตอร์ มีหน้าที่เชื่อมต่อสำหรับขยายสัญญาณให้กับเครือข่ายเพื่อเพิ่มระยะทางในการรับส่งข้อมูลให้กับเครือข่ายให้ไกลออกไปได้

1.6. เราเตอร์ เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่หาเส้นทางและส่งแพ็กเกตข้อมูลระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยังเครือข่ายปลายทางที่ต้องการ

1.7. บริดจ์ ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย มีรูปแบบการทำงานไม่ซับซ้อนมีหลักการทำงานด้วยการตรวจจับสัญญาณที่ได้จากเครือข่ายหนึ่งส่งต่อไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง

1.8. เกตเวย์ เกตเวย์มีกระบวนการทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริตจ์ทำให้สามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภท

1.9. แอร์การ์ด เป็นอุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สายโดยผู้ใช้งานต้องใส่ซิมการ์ด

1.10. จุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย ใช้สำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์แบบไร้สาย เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ฌโน๊ตบุ๊คกับเครื่องพิมพ์

2. ตัวอย่างของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิววเตอร์

2.1. ตัวกลางแบบมีสาย

2.1.1. สายคู่บิดเกียว ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้น พันบิดเป็นเกียวมีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี มี 2 ชนิด

2.1.1.1. - สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวน หรือ STP นิยมใช้ในสถานที่มีสัญญาณรบกวนสูงและมีราคาแพงกว่าสาย UTP

2.1.1.2. - สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือ UTP สะดวกในการเดินสายและมี่ราคาตํ่ากว่าสาย UTP

2.1.2. สายแกนร่วม เป็นสายสัญญาณที่ทองแดงเป็นกลางหุ้มด้วยฉนวนป้องกันไฟรั่ว เช่น สายอากาศโทรสัพท์

2.1.3. สายไฟเบอร์ออฟติกหรือเคเบิลใยแก้วนำแสงทำจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูงใช้แสงการในสื่อสารข้อมูลมักนิยมใช้เชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย

2.2. ตัวกลางแบบไร้สาย

2.2.1. คลื่นวิทยุ คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ 10 กิโลเมตร -1 กั๊กกะเฮิร์ต ใช้งานในระบบ LAN ไร้สาย

2.2.2. คลื่นไมโครเวฟ มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ เช่น ใช้ในการสื่อสารภูเขากับพื้นราบ

2.2.3. อินฟราเรด มีความถี่สูงกว่าคลื่นไมโครเวฟใช้ในการสื่อสารที่ไม่มีสิ่งกีดขวางระหว่างผู็ส่งกับผู้รับ

3. ความหมายและองค์ประกอบของการสื่อสาร

3.1. ทิศทางการสื่อสาร

3.1.1. การสื่อสารทิศทางเดียว คือมีผู้ส่งสารเพียงคนเดียวโดยที่ผู้รับสารไม่สามารถโต้ตอบกับผู้ส่งสารได้ เช่นวิทยุกระจายเสียง

3.1.2. การสื่อสารสองทิศทางสลับกัน คือ ผู้ส่งและผู้รับสลับกันเป็นผู้ส่งและผู้รับแต่ระหว่างที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งทำหน้าที่ส่งสารอีกฝ่ายก็ต้องเป็นผู้รับสาร เช่น วิทยุสื่อสาร

3.1.3. การสื่อสารสองทิศทางพร้อมกัน คือผู้ส่งสารและผู้รับสารผลัดกันทำหน้ารับส่งสารในเวลาเดียว เช่น โทรศัพท์

3.2. องค์ประกอบของการสื่อสาร

3.2.1. ผู้ส่งสาร บุคคลที่เริ่มส่งสารไปให้อีกบุคคลหนึ่ง

3.2.2. ผู้รับสาร บุคคลที่เป็นจุดหมายปลายทางของสารที่ผู้ส่งสารส่งมา

3.2.3. ข้อมูล สิ่งที่ผู้ส่งสารต้องการส่งให้ผู้รับสารที่อยู่ปลายทาง

3.2.4. ตัวกลางหรือสื่อนำข้อมูล เป็นตัวกลางในการนำเสนอข้อมูล

3.2.5. โพลโทคอล ข้อตกลงหรือวิธีการสื่อสาร

4. ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

4.1. เครือข่าย PAN หรือเครือข่ายส่วนบุคคลมีจุดประสงค์หลักในการ ถ่าย โอน คัดลอกแลกเปลี่ยนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การเชื่อมต่อระหว่างกล้อง เครื่องพิมพ์และเครื่องคอมพิวเตอร์

4.2. เครื่อข่าย LAN หรือเครือข่ายท้องถิ่นมีจุดประสงค์เพื่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้งานและผู้ใช้ข้อมูล เช่น การสั่งให้เครื่องพิมพ์ พิมพืเอกสารจากเครื่องคอมพิวเตอร์ใดก็ได้

4.3. เครือข่าย MAN หรือเครือข่ายที่เชื่อมโยงในเมืองที่อยู่ใกล้การเชื่อมต่อลักษณะนี้ไม่นิยมการเชื่อมต่อแบบไร้การสาย เช่น การส่งข้อมูลของสินค้าที่สามารถผลิตได้ไปยังร้านค้า

4.4. เครือข่าย WAN หรือเครือข่ายระยะทางไกลเป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด