Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แผนผังบทที่ 2 by Mind Map: แผนผังบทที่ 2

1. โภชนาการ (Nutrition)

1.1. พลังงาน (Energy)

1.1.1. ใช้หน่วย กิโลแคลอรี่ (Kilocalories : kcal)

1.1.1.1. - Carbohydrate 1 gram ==> 4 kcal - Protein 1 gram ==> 4 kcal - Fat 1 gram ==> 9 kcal

1.1.2. เราต้องบริโภคอาหารเพื่อให้ได้พลังงานมากพอที่จะใช้ใน กิจกรรม 4 ด้านนี้และเก็บสะสมในร่างกายเล็กน้อย

1.1.2.1. 1. พลังงานที่ต้องการขั้นพื้นฐาน

1.1.2.1.1. -คิดเป็น 50 % ของการใช้พลังงานต่อวัน

1.1.2.1.2. วัดออกมาเป็ นค่า “อัตราพลังงานขั้นพื้นฐาน” (Basal Metabolic rate : BMR)

1.1.2.2. 2. พลังงานที่ใช้ในการทํางาน และประกอบกิจกรรมต่างๆ

1.1.2.2.1. - พลังงานที่ต้องการใช้ในขณะร่างกายทํากิจกรรมต่างๆ ที่อยูภายใต้การบังคับของจิตใจ

1.1.2.3. 3. พลังงานที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงอาหาร ภายในร่างกาย

1.1.2.3.1. - พลังงานที่ต้องการใช้ในการย่อย ดูดซึมอาหาร ภายในระยะเวลา1-4ชั่วโมงหลังการบริโภคอาหาร - เรียกค่าที่ได้ว่า Specific dynamic action (SDA) คิดเป็น 10 % ของพลังงานที่ต้องการ ทั้งหมด (ประมาณ 50-200 kcal)

1.1.2.4. 4. พลังงานที่ร่างกายต้องการในการขับ ของเสียออกมาจากร่างกาย

1.1.2.4.1. -พลังงานที่ต้องการใช้ในการขับของเสียทั้งปัสสาวะและอุจจาระออกจากร่างกาย -คิดเป็ น 8% ของพลังงานที่ต้องการทั้งหมด (ประมาณ 40-170 kcal)

1.1.3. พลังงานที่ต้องการใช้ กับ พลังงานที่แนะนําต่อวัน(RDA) แตกต่างกัน RDA = BMR x 1.4 kcal

1.2. สมดุลของพลังงาน (Energy Balance)

1.2.1. พลังงานที่ได้รับจากอาหาร (100%) แบ่งเป็จาก -คาร์โบไฮเดรต 50% และ 1 กรัม= 4 Kcal -โปรตีน 20% และ 1 กรัม =4 Kcal -ไขมัน 30% และ 1 กรัม=9 Kcal *ค่าพลังงานที่คิดได้จะได้จะเทียบกับค่าพลังงาน

1.3. หลักในการบริโภคอาหารทางโภชนาการ

1.3.1. ต้องบริโภคอาหารเพื่อให้ได้ปริมาณและคุณค่าอาหารอย่างเพียงพอ โดยที่สารอาหารต่างๆที่ได้รับมีความสมดุลกัน เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย

1.3.1.1. โภชนบัญญัติ 9 ประการ

1.3.1.1.1. 1.กินอาหารครบ 5 หมู่่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย (ตามธงโภชนาการ) และหมันดูแลน้ำหนักตัว 2. กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ 3. กินพืชผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจํา 4. กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจํา 5. ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย 6. กินอาหารที่มีไขมันแต่ พอควร 7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด 8. กินอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปื้อน 9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

1.4. อาหารแลกเปลี่ยน

1.4.1. รายการที่กินทดแทนกันได้ เนื่องจากมี ปริมาณสารอาหารและจํานวนพลังงานใกล้เคียงกันเพื่อประโยชน์ในการเลือก บริโภคอาหารให้เหมาะสมกับร่างกายและนําไปใช้ป้องกันหรือรักษาโรคบางชนิด สามารถนําไปใช้ ได้ทั้งบุคคลในภาวะปกติและในผู้ป่วยโดยจัดกลุ่มอาหาร ออกเป็น 6 หมวด

1.4.1.1. หมวดนํ้านมและผลิตภัณฑ์

1.4.1.1.1. 1 สjวน = 1 แก้ว หรือ 1 กล่อง 225 -250 ซีซี

1.4.1.2. หมวดผัก

1.4.1.2.1. ผัก1ส่วน =ผักดิบ2ทัพพี, ผักสุก1ทัพพี มี2ส่วน

1.4.1.3. หมวดผลไม้

1.4.1.3.1. ปริมาณแตกต่างกันตรงความหวานให้พลังงาน 60 Kcal

1.4.1.4. หมวดข้าว แป้ง ขนมปัง

1.4.1.4.1. ปริมาณแตกต่างกัน ให้พลังงาน80kcal

1.4.1.5. ธัญพืชและผลิตภัณฑ์

1.4.1.6. หมวดเนื้อสัตว์

1.4.1.6.1. เนื้อสัตว์ไขมันต่ำมากให้พลังงาน 35 kca

1.4.1.6.2. เนื้อสัตว์ไขมันต่ำให้พลังงาน 55 kcal

1.4.1.6.3. เนื้อสัตว์ไขมันปานกลางให้พลังงาน 75 kcal

1.4.1.6.4. เนื้อสัตว์ไขมันสูงให้พลังงาน 100kcal

1.4.1.7. หมวดไขมัน

1.4.1.7.1. 1 ช้อนชาให้พลังงาน 45 Kcal

2. หลักโภชนบําบัด (Diet Therapy)

2.1. คือ การใช้อาหารและความรู้ดานโภชศาสตร์รักษาโรคของผู้ป่วย โดยดัดแปลงอาหารธรรมดาให้เหมาะกับโรคหรือความต้องการ ของร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไปตามสรีรวิทยาขณะ เจ็บป่วย

2.2. วัตถุประสงค์ของการให้โภชนบําบัด

2.2.1. 1.ป้องกันการกําเริบของโรคที่เกิดจากการรับสารอาหารบางชนิดมากเกินไป 2.งดอาหารที่ผู้ป่วยเคยแพ้ 3.ให้สารอาหารอย่างเพียงพอทั้งชนิดแลปริมาณ 4.ให้อวัยวะที่มีความผิดปกติได้พักการทํางานและฟื้นฟูสภาพได้ตามแผนการรักษา 5.เพื่อช่วยให้ร่างกายสามารถย่อยและดูดซึมสารอาหารนําไปใช้ได้ 6.ควบคุมน้ําหนักเพิ่ม หรือ ลดให้อยู่ในเกณ์ฑมาตรฐาน 7.เพื่อดํารงและส่งเสริมภาวะโภชนาการ 8.ดัดแปลงอาหารให้เหมาะกับการที่ร่างกายของผู้ป่วยจะนําไปใช้ประโยชน์ได้

2.3. ความสําคัญและบทบาทของอาหารต่อการบําบัดโรค

2.3.1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับภาวะของโรคที่เป็นอยู่ 2.เพื่อส่งเสริมการรักษาทางการแพทย์ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น 3.เพื่อบรรเทาอาการที่เป็นอยู่ให้ลดความรุนแรงลง 4.เพื่อป้องกันและชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย 5.ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล

2.4. อาหารประเภทต่างๆที่ให้ทางปาก แบ่งเป็น2ประเภท

2.4.1. 1. อาหารทั่วไป (General Diet)

2.4.1.1. a. อาหารธรรมดา (Normal Diet)

2.4.1.1.1. อาหารที่เหมาะสำหรับผู๋ป่วยที่มีการย่อยปกติ ทานเหมือนคนปกติ แต่อาหารจะปรุงอ่อน เหลียงรสจัดหรืออาหารที่ทำให้มีปัญหาต่อระบบขับถ่าย เช่น ข้าวนุ่มๆ แกงจืด เนื้อสุกๆ เป็นต้น

2.4.1.2. b. อาหารธรรมดาย่อยง่าย (Light Diet) หรืออาหารสําหรับผู้ป่วยพักฟื้น(Convalescent Diet)

2.4.1.2.1. เป็นอาหารที่ให้เป็นเเค่ช่วงนึงเท่านั้น อาหารจะนุ่มกว่าอาหารธรรมดา เช่น ข้าวเเฉะ เนื้อเปื้อย ไข่ลวก ผักเปื่อย ผลไม้นุ้มๆ ไม่รสจัด

2.4.1.3. c. อาหารอ่อน (Soft Diet)

2.4.1.3.1. ผู้ป่วยที่ระบบการย่อยผิดปกติ มีลักษณะนุ่ม กลืนง่ายไม่มีกาก เปื่อย นุ่ม อาหารเเข็งจะถูกดัดแปลงเป็น การสับละเอียด ตุ้น ต้ม เหลื่องอาหารที่เหนียว มีไขมัน เช่น ข้างต้ม บด ไม่มีเส้นใย ไข่ต้ม ผลไม้สุก น้ำผลไม้กรอง มีปริมาณอาหารมากกว่าปกติ

2.4.1.4. d. อาหารเหลว (Liquid Diet) มี 2ประเภทอีก

2.4.1.4.1. เป็นอาหารที่ย่อยง่ายไม่มีกากใย (สำหรับผู้ป่วยหนัก มีไข้สูง หลังผ่าตัด24 ชั่วโมง)

2.4.1.4.2. 1. อาหารน้ําใส (clear liquid diet)

2.4.1.4.3. 2. อาหารน้ําข้น (full liquid diet)

2.4.2. อาหารเฉพาะโรค / อาหารบําบัดโรค

2.4.2.1. หมายถึง อาหารที่ผ่านการดัดแปลงเพื่อรักษาโรค โดยดัดแปลงอาหารธรรมดาให้เหมาะ กับโรคหรือความต้องการของร่างกายที่เปลี่ยนแปลงไปตามสรีรวิทยาขณะเจ็บป่วย

2.5. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาดัดแปลงอาหาร

2.5.1. การดัดแปลงอาหารเพื่อให้เป็นอาหารบําบัดโรค หรืออาหารเฉพาะโรคนั้น อาจทําให้ อาหารที่ดัดแปลงมีสารอาหารน้อยลง ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย หรือเพิ่มขึ้นเกิน ความต้องการเมื่อเทียบกับคนปกติทั่วไป รวมถึงรูปลักษณ์ของอาหารอาจจะผิดแปลกไปจาก อาหารทั่วไปได้

2.5.2. หลักในการพิจารณาเพื่อดัดแปลงอาหาร 1.ให้อาหารที่ดัดแปลงนั้นมีลักษณะแตกต่างจากอาหารเดิมน้อยที่สุด 2.เป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอกับความต้องการของร่างกายในขณะนั้น 3.เป็นไปตามบริโภคนิสัยและเป็นที่ยอมรับของผู้ป่วย 4.มีการจัดเตรียมง่ายไม่ยุ้งยาก 5.ประหยัด มีราคาถูก

2.6. การดัดแปลงอาหารเพื่อรักษาโรค

2.6.1. 1. ดัดแปลงพลังงานของอาหาร 2.ดัดแปลงรูปลักษณะของอาหารหรือใยอาหาร 3.ดัดแปลงปริมาณสารอาหารอย่างใดอย่างหนึ่ง 4. ดัดแปลงแร่ธาตุในอาหาร

2.7. ชนิดของอาหารบําบัดโรค

2.7.1. 1. อาหารดัดแปลงกากและใยอาหาร ซึ่งดัดแปลงได้หลายลักษณะเช่น อาหารผู้ป่วย โรคกระเพาะ (modified sippy diet) อาหารกากน้อย (low residue diet) อาหารกากมาก (high fiber diet)

2.7.2. 2. อาหารจํากัดโซเดียม (sodium restricted diet)

2.7.3. 3. อาหารโรคเบาหวาน (diabetic diet)

2.7.4. 4. อาหารเปลี่ยนแปลงไขมัน (modified faT diet)

2.7.5. 5. อาหารเปลี่ยนแปลงแคลเซียม (modified calcium diet)

2.7.6. 6. อาหารเปลี่ยนแปลงโปรตีน (modified protein diet)

2.7.6.1. - อาหารงดโปรตีน (free protein diet) - อาหารโปรตีนต่ํา (low protein diet) - อาหารเพิ่มโปรตีน (high protein diet)

2.7.7. 7. อาหารเปลี่ยนแปลงพลังงาน (modified energy diet)

2.7.7.1. - อาหารพลังงานต่ํา (low energy diet) - อาหารเพิ่มพลังงาน (high energy diet)

2.7.8. 8. อาหารสําหรับเด็กที่เป็นโรคต่างๆ

2.7.9. 9. อาหารสําหรับผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัด

3. แนวทางการใช้อาหารเพื่อ ป้องกันและบําบัดโรค

3.1. การประเมินภาวะโภชนาการในบุคคลที่มี ภาวะเจ็บป่วยหรือเบี่ยงเบน

3.1.1. 1.การประเมินภาวะทางโภชนาการโดยอาศัยข้อมูลจากตัวบุคคล (subjective nutritional assessment)

3.1.2. 2.การประเมินภาวะทางโภชนาการโดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจวัด (objective nutritional assessment)

3.2. นํ้าหนักตัวในอุดมคติหรือนํ้าหนักมาตรฐาน (Ideal Body Weight)

3.2.1. วิธีที่1 ผช:ส่วนสูง-100 ผญ:ส่วนสูง-110

3.2.2. วิธีที่2 ผช:ส่วนสูง-100 ผญ:(ส่วนสูง-100)-10%(ความสูง-100)

3.3. การประเมินถึงความต้องการพลังงานของผู้ป่วย

3.3.1. เมื่อได้ประเมินถึงภาวะทางโภชนาการของผู้ป่วยและ ลําดับต่อมาจําเป็นที่จะต้องคํานึงถึงปริมาณพลังงาน ที่ได้จากอาหารใน ผู้ป่วยแต่ละรายหรือประเมินถึง energy expenditure (EE) ของ ผู้ป่วยในแต่ละรายตามความต้องการ

3.4. วิธีการคิดและคํานวณหาEEหลายวิธี

3.4.1. 1. การประเมินด้วย indirect calorimetry

3.4.1.1. ประเมินถึง oxygen consumption และ carbondioxide production ของผู้ป่วย ในแต่ละวัน และนํามาคํานวณหา TEE ด้วย Weir equation

3.4.2. 2. การประเมินดเ้วย Fick equation

3.4.2.1. เป็นวิธีประเมิน TEE จาก oxygen consumption ที่ คํานวณได้หรือวัดได้ หลังจากการใส่สาย Swan-Ganz catheter

3.4.3. 3. การใช้สูตรในการคํานวณหา TEE (predictive equation)

3.4.3.1. 3.1 Harris-Benedict equation เป็นสมการที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก โดยใช้ นํ้าหนักความสูงและอายุของผู้ป่วยมาคํานวณแยกในแต่ละเพศ ดังสมการ ผช: 66.5+(13.8W) +(5.0H)-(6.8A) ผญ: 665.1+(9.6W)+(1.8H)-(4.7A)

3.4.3.2. 3.2 Ireton-Jones equations ประเมิน TEE ในผู้ป่วยที่มีนํ้าหนักตัวมาก หรือ มี BMI มากกว่า 30 กิโลกรัมต่อตารางเมตร สมการนี้ ใช้ ตััวแปร ได้แก่ เพศ อายุ นํ้าหนัก และภาวะการบาดเจ็บของผู้ป่วย โดยแยกกันคํานวณระหว่างผู้ป่วยหายใจเอง และ ผู้ป่วยที่ใช้ เครื่องช่วยหายใจได้

3.4.3.3. 3.3 Estimated factor เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดในการ ประเมิน EEE ของผู้ป่วย กล่าวคือ เพศชาย EEE = 25-30 กิโลแคลอรี่ต่อนํ้าหนักตัว หนึ่งกิโลกรัมต่อวัน (kcal/kg/day) เพศหญิง EEE = 20-25 กิโลแคลอรี่ต่อนํ้าหนักตัว หนึ่งกิโลกรัมต่อวัน (kcal/kg/day)

3.5. ผู้ป่วยเบาหวาน

3.5.1. เบาหวาน กับค่าดัชนีนํ้าตาลในอาหาร (Glycemic index or GI)

3.5.1.1. อาหารที่มีGIสูงจะทําให้ระดับนํ้าตาลในเลือดขึ้นสูงเร็ยกว่าอาหารที่มี GI ตํ่า ส่วนอาหารที่มี GI ตํ่าจะถูกย่อยช้าๆ จึงทําให้นํ้าตาลกลูโคสถูกปล่อยเข้าไปในกระแสเลือดอย่างช้าๆ ระดับนํ้าตาลในเลือดก็จะขึ้นช้าด้วย

3.5.1.2. อาหารที่มีค่าดัชนีนํ้าตาลตํ่า ข้าวกล่อง ขนมปังโฮลวีท ผักใบต่างๆ ฝรั่ง ชมพู่

3.5.1.3. อาหารที่มีค่าดัชนีนํ้าตาลสูง เช่น ข้าวขัดสี ข้าวเหนียว ขนมปัง(ขาว) ฟักทอง แตงโม อินทผาลัม มันฝรั่งบด ไอศกรีม

3.5.1.4. หลักสำคัญ คือ การรับประทานอาหารให้ตรงเวลา รับประทานอาหารให้ครบ5หมู่และหลากหลาย จํากัดนํ้าตาลและของอาหารลด อาหารที่มีไขมันสูงรับประทานผักให้มาก รับประทานผลไม้ตามสัดส่วนและหมั่นดูแลนํ้าหนักตัว บริโภคนํ้าตาลไม่เกินวันละ 6 ช้อนชา

3.6. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

3.6.1. อาหารที่ควรรับประทาน - อาหารที่มีแคลเซียมสูง เช่น เต้าสูง ผักใบเขียว - นมพร่องมันเนย เช่น โยเกิร์ตไขมันตํ่า - ผักสดทุกชนิด เช่น กะหลํ่าปลี ผักกาดขาว - ไขมันจากพืช

3.6.2. - อาหารที่มีโซเดียมสูง อาหารรสเค็ม ควรงดการเติมเครื่องปรุงรส เช่น ผงชูรส ผงฟู - อาหารหมักดอง เช่น เต้าเจี้ยว กะปิ ปลาเค็ม - อาหารแปรรูป เช่น ไส้กรอก เบคอน หมูแฮม - ไขมันจากสัตว์ และพืชบางชนิด

3.6.3. ผู้ป่วยโรค ความดันโลหิตสูงไม่ควรบริโภคเกลือเกิน 6 กรัม/วัน หรือเทียบเท่ากับ 1 ช้อนชาเศษ

3.7. ผู้ป่วยไขมันในเลือดสูง

3.7.1. 1.หลีกเลี่ยงอาหารพวกเนื้อสัตว์ที่ติดมัน 2.หลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วยนํ้ามัน

3.7.2. 1.พยายามปรุงอาหารโดยใช้ต้ม นึ่ง ย่าง อบ แทนการทอดหรือผัด 2.เลือกดื่มนมพร่องมันเนยหรือนมขาดมันเนย 3.เลือกรับประทานเนื้อปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน 4.บริโภคปลาทะเล สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง

3.8. ผู้ป่วยไตวาย ไตวายเรื้อรัง

3.8.1. 1.ผู้ป่วยไตวายที่มีภาวะความดันโลหิตสูงหรือบวมต้องจํากัดโซเดียมให้<2000มิลลกริม/วัน 2.แหล่งของพลังงานส่วนใหญ่ควรได้รับจากคาร์โบไฮเดรท(55-60%ของพลังงานที่ควรได้รับจากไขมัน ประมาณ 30-35% ของพลงงานที่ควรได้รับ และอีก < 10% จากโปรตีน โปรตีน ควรได้รับต้องให้ตามควาคนปกติ คือ ต้องตํ่ากว่า 0.8 กรัม แต่ต้องไมตํ่ากว่า0.6กรัม/กิโลกรัม

3.9. ผู้ป่วยโรคเกาท์

3.9.1. อาหารกับโรคเกาท์เนื่องจากกรดยูริคจะได้จากการเผาผลาญสารพิวรีนที่มีในอาหาร ดังนั้นในการรักษาโรคเกาท์จึงควรเลือกรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนในปริมาณที่น้อย และหลีกเลี่ยงอาอารกลุ่มที่มีปริมาณสารพิวรีนสูง

3.9.2. กลุ่มที่มีปริมาณพิวรีนน้อย เลือกรับประทานอาหารกลุ่มนี้ได้ 4 ครั้ง/ สัปดาห์ และผลิตภัณฑ์จากนม ไข่ ขนมปังขาว

3.9.3. กลุ่มที่มีปริมาณพิวรีนปานกลาง เลือกรับประทานได้สัปดาห์ละครั้ง เนื้อหมู ปลากระพงแดง ปลาหมึก ปู ถั่วลิสง

3.10. การให้อาหารทางหลอดเลือดดำ (Parenteral Nutrition)

3.10.1. Total Parenteral Nutrition (TPN) : การให้สารอาหารผ่านทางเส้นเลือดดำใหญ่ Peripheral Parenteral Nutrition (PPN): การให้สารอาหารผ่านทางหลอดเลือดดeส่วนปลาย

3.10.2. ส่วนประกอบที่อยู่ในรูปของแร่ธาตุหรือสารอาหารก่อนย่อย มาจาก คาร์โบไฮเดรท : น้ำตาลเดกโตส(dextrose) โปรตีน:กรดอะมิโน(amino acids) ไขมัน:ไขมันอิมัลชัน(lipid emulsion)วิตามิน แร่ธาตุ และอิเล็คโทรไลต์

3.10.3. การให้อาหารทางหลอดเลือดดำส่วนปลาย

3.10.3.1. ให้เพียง 14 วัน ความต้องการพลังงานและโปรตีนอยู่ในระดับปานกลาง ไม่จำกัดสารน้ำ

3.10.4. การให้อาหารทางหลอดเลือดดำ

3.10.4.1. •ผู้ป่วยไม่สามารถได้รับสารอาหารเพียงพอเมื่อใช้วิธีผ่านทางปาก •ผู้ป่วยที่ตับอ่อนอักเสบอย่างรุนแรง (Severe acute pancreatitis) •ผู้ป่วยที่ตัดต่อลำไส้ (Severe short bowel syndrome) •ผู้ป่วยเส้นเลือดที่เลี้ยงลำไส้ขาดเลือด (Mesenteric ischemia) •ผู้ป่วยที่ลำไส้ไม่บีบตัว (Paralytic ileus) •ผู้ป่วยที่ลำไส้เล็กอุดตัน (Small bowel obstruction) •ผู้ป่วยที่ระบบทางเดินอาหารทะลุ (GI fistula)

3.10.5. ข้อห้ามในการให้อาหารทางหลอดเลือดดำ

3.10.5.1. •ผู้ป่วยต้องการกินทางปาก •ผู้ป่วยที่มีระบบทางเดินอาหารปกติ •ผู้ป่วยมีความเสี่ยงจากอาหารทางหลอดเลือดดำมากกว่าประโยชน์ •ผู้ป่วยที่คาดว่าให้สารอาหารไปแล้วไม่ได้รับการตอบสนองที่ดี หรือผู้ป่วยระยะสุดท้าย •ผู้ป่วยที่รับประทานอาหารทางปากมีการตอบสนองที่ดีอย่างช้า ภายใน 14 วัน

3.10.6. สารอาหารในการให้ทางหลอดเลือดดํา

3.10.6.1. สารอาหารหลัก → คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน

3.10.6.2. สารอาหารรอง → วิตามิน แร่ธาตุ อิเลคโทรไลต์

3.10.7. ค่าพลังงานของสารอาหารในนํ้าเกลือ

3.10.7.1. โดยทั่วๆไปนํ้าเกลือที่ใช้อยู่เป็นสารละลายที่มีส่วนผสมของเกลือและนํ้าตาล ในบางกรณีก็มีแตเกลืออย่างเดียวตัวอย่างชื่อเรียกนํ้าเกลือตามส่วนนผสมของตัวละลาย

3.10.7.2. 0.9% NSS (มีแต่เกลือในกลุ่มโซเดียมคลอไรด์ไม่มีนํ้าตาล) 5% DN/2 (มีนํ้าตาลD=dextroseอยู่5%และเกลือโซเดียมคลอไรด์) หมายความว่ามีนํ้าตาลdextroseซึ่งเป็นนํ้าตาลชนิดนึงอยู่5%ในนํ้าเกลือ1ถุง

4. นางสาวสุกัญญา แก้วสุวรรณ เลขที่083 รหัส622601083