ความรู้พื้นฐานและทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษา Foundation and Theory of Educational Technology

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้พื้นฐานและทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษา Foundation and Theory of Educational Technology by Mind Map: ความรู้พื้นฐานและทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษา Foundation and Theory of Educational Technology

1. เเนวโน้มของเทคโนโลยีการศึกษา ประกอบด้วย 3 ระยะสำคัญ ดังนี้

1.1. ระยะที่ 1 เทคโนโลยีที่หมายถึงวิธีการใช้เครื่องมือ เป็นไปตามสมมติฐานที่ว่า "สื่อ" เป็นเครื่องมือสำคัญในการนำเสนอเนื้อหาเเละพัฒนาผู้เรียน เช่น พัฒนาบทเรียนสำเร็จรูป

1.2. ระยะที่ 2 เทคโนโลยีที่หมายถึงกระบวนการออกเเบบ เป็นไปตามสมมิตฐานที่ว่ากระบวนการ รูปแบบที่ออกแบบอย่างเป็นระบบ สามารถเเก้ปัญหาเเละเกิดการเรียนรู้ได้

1.3. ระยะที่ 3 เทคโนโลยีที่หมายถึงการสร้างการบูรณาการวิธี เป็นไปตามสมมิตฐานที่ว่า ประสบการณ์การเรียนที่ดีไม่ได้มาจากวิธีการเท่านั้นการออกเเบบการสอนต้องพิจารณาบริบทเเละเครื่องมือที่สอดคล้องกับบริบทนั้นๆให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เเละเเก้ปัญหาด้วยตนเอง

2. ขอบข่ายเเละมโนทัศน์เทคโนโลยีการศึกษา

2.1. เเนวคิดของสมาคมสื่อสารเเละเทคโนโลยีการศึกษาเเห่งสหรัฐอเมริกา ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษาประกอบด้วย 5 ขอบข่ายใหญ่เเละเเต่ละขอบข่ายเเยกเป็น 4 ขอบข่ายย่อยรวม 20 ขอบข่ายย่อย ดังนี้

2.1.1. 1. การออกแบบ

2.1.1.1. การออกเเบบระบบการสอน

2.1.1.1.1. การวิเคราะห์

2.1.1.1.2. การออกแบบ

2.1.1.1.3. การพัฒนา

2.1.1.1.4. การนำไปใช้

2.1.1.1.5. การประเมิน

2.1.1.2. การออกแบบสาร

2.1.1.3. กลยุทธ์การสอน

2.1.1.4. ลักษณะผู้เรียน

2.1.2. 2. การพัฒนา

2.1.2.1. เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์

2.1.2.2. เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ์

2.1.2.3. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

2.1.2.4. เทคโนโลยีบูรณาการ

2.1.3. 3. การใช้

2.1.3.1. การใช้สื่อ

2.1.3.2. การเเพร่กระจายนวัตกรรม

2.1.3.3. วิธีการนำไปใช้

2.1.3.4. นโยบายหลักการเเละกฎระเบียบข้อบังคับ

2.1.4. 4. การจัดการ

2.1.4.1. การจัดการโครงการ

2.1.4.2. การจัดการเเหล่งทรัพยากร

2.1.4.3. การจัดการระบบส่งถ่าย

2.1.4.4. การจัดการสารสนเทศ

2.1.5. 5. การประเมิน

2.1.5.1. การวิเคราะห์ปัญหา

2.1.5.2. เกณฑ์การประเมิน

2.1.5.3. การประเมินความก้าวหน้า

2.1.5.4. การประเมินผลสรุป

2.2. เเนวคิดขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2.2.1. มิติที่ 1 เเนตั้ง ได้เเก่ มิติทางสาระ จำเเนกเป็น 7 ขอบข่าย

2.2.1.1. การจัดระบบ

2.2.1.2. พฤติกรรมการเรียนการสอน

2.2.1.3. วิธีการ

2.2.1.4. การสื่อสาร

2.2.1.5. สภาพเเวดล้อมทางการศึกษา

2.2.1.6. การจัดการ

2.2.1.7. การประเมิน

2.2.2. มิติที่ 2 เเนวนอนได้เเก่ มิติภารกิจ ประกอบด้วย 3 ภารกิจ

2.2.2.1. งานบริหารเทคโนโลยีการศึกษา

2.2.2.2. งานวิชาการ

2.2.2.3. งานบริการเทคโนโลยีการศึกษา

2.2.3. มิติที่ 3 เเนวลึก ได้เเก่ มิติทางรูปแบบการศึกษา

2.2.3.1. การศึกษาในระบบโรงเรียน

2.2.3.2. การศึกษานอกระบบโรงเรียน

2.2.3.3. การฝึกอบรมเป็นส่วนหนึ่งการศึกษา

2.2.3.4. การศึกษาทางไกล

3. พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา

3.1. เทคโนโลยีการศึกษามีประวัติความเป็นมายาวนานเริ่มจากสมัยกรีก มีการพัฒนาเปลี่ยนเเปลงตามความเจริญก้าวหน้าของศาสตร์ทางการศึกษา พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาเเบ่งเป็น 2 ด้าน ดังนี้

3.1.1. พัฒนาการตามการออกเเบบการเรียนการสอน

3.1.1.1. การเรียนการสอนตามเเนวของโซฟิสต์ เน้นการสอนเเบบบรรยายเเละการเสวนาเพื่อให้เกิดประสบการณ์

3.1.1.2. การเรียนการสอนตามเเนวของโซเครทิส เป็นผู้นำการสอนเเบบถามตอบ ที่เรียกว่า Socratic Method

3.1.1.3. การเรียนการสอนตามเเนวของอาบิลาร์ด ใช้วิธีการสอนเชิงพุทธิปัญญา

3.1.1.4. การเรียนการสอนตามเเนวของเเฮร์บาท วิธีการสอน 4 ขั้นคือ ความชัดเจน การเชื่อมโยง การจัดระบบเเละการกำหนดวิธีการ

3.1.1.5. การเรียนการสอนตามเเนวของดิวอี้เเละคิลเเพรทริค เน้นการสอนด้วยการลงมือปฏิบัติ

3.1.2. การพัฒนาการของสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร

3.1.2.1. การเรียนการสอนตามเเนวของโคมินิอุส มี 2 ขั้น

3.1.2.1.1. 1. กำหนดจุดมุ่งหมาย

3.1.2.1.2. 2. ใช้กระบวนการที่ต้องมีการวิเคราะห์เเละปรับปรุงด้วยวิธีการอนุมานตามหลักวิทยาศาสตร์เเละเป็นผู้ใช้สิ่งของที่เป็นของจริงมาใช้ในการสอนอย่างจริงจัง

3.1.2.2. การสอนตามเเนวของธอร์นไดค์ เน้นจิตวิทยากลุ่มเชื่อมโยงนิยม

3.1.2.3. การเรียนการสอนเเบบโปรเเกรม การพัฒนาเครื่องมือช่วยสอนเเละบทเรียนโปรแกรมประเภทอื่นๆกลายเป็นพื้นฐานสำคัญในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

3.1.2.4. การเรียนการสอนเเบบศูนย์การเรียน เน้นกิจกรรมกลุ่ม

3.1.2.5. การศึกษาทางไกล

4. ทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษา

4.1. ทฤษฎีจิตวิทยาการเรียนรู้ การเรียนรู้เเสดงให้เห็นการเปลี่ยนเเปลงที่ค่อนข้างถาวร ที่มีผลเนื่องมาจากประสบการณ์ของเเต่ละบุคคล ทฤษฎีพื้นฐานในการวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา ดังนี้

4.1.1. ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม จำเเนกพฤติกรรม 2 กลุ่มใหญ่

4.1.1.1. พฤติกรรมตอบสนอง

4.1.1.2. พฤติกรรมจัดกระทำ

4.1.2. ทฤษฎีกลุ่มปัญญานิยม

4.1.2.1. ทฤษฎีพัฒนาทางปัญญา

4.1.2.2. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ

4.1.2.3. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย

4.1.2.4. ทฤษฎีประมวลสารสนเทศเเละการเเก้ปัญหา

4.1.3. ทฤษฎีกลุ่มสร้างสรรค์นิยม ให้ความสำคัญกับการศึกษาธรรมชาติการเรียนรู้ จากปัจจัยภายนอกไปสู่ปัจจัยภายใน ซึ่งมีองค์ประกอบเเละเงื่อนไขการเรียนรู้ ดังนี้

4.1.3.1. ผู้เรียนสร้างความหมายการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางปัญญาของตน

4.1.3.2. โครงสร้างทางปัญญาเป็นผลของความพยายามทางความคิด

4.1.3.3. โครงสร้างทางปัญญาเปลี่ยนเเปลงได้ยาก

4.2. ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ การศึกษาการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ โดยการเชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกันของศาสตร์หลายๆด้าน ทำให้เกิดความรู้เป็นเเนวทางออกเเบบ ประเมินผล พัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ที่มีการโต้ตอบกับมนุษย์ เพื่อให้มนุษย์ใช้งาน มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ มีองค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ ดังนี้

4.2.1. การใช้เเละบริบท

4.2.2. ผู้ใช้หรือกลุ่มผู้ใช้

4.2.3. คอมพิวเตอร์

4.3. ทฤษฎีการสื่อสารการเรียนการสอน ทฤษฎีการสื่อสารการเรียนการสอนเป็นการนำทฤษฎีการสื่อสารมาใช้เป็นหลักในการศึกษาถึงวิธีการส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศ การใช้สื่อเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนบรรลุผล

5. ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา

5.1. ศาสตร์ที่ว่าด้วยการนำเทคโนโลยี ความรู้ ความคิด วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ที่ปรับเปลี่ยนไปตามความก้าวหน้าทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม มาใช้เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน เทคโนโลยีการศึกษาจึงควบคู่ไปกับนวัตกรรมการศึกษาที่เป็นวิธีการใหม่ที่ได้รับการพัฒนาเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่สูงขึ้น