Norepinephrine

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Norepinephrine by Mind Map: Norepinephrine

1. Cholinergic Blocking Agents

1.1. Muscarinic Receptors Antagonists

1.1.1. •Belladonna Alkaloids :- Atropine Sulfate, Hyoscine-n-butyl Bromide (Buscopan), Scopolamine Hydrobromideหรือ Hyoscine Hydrobromide

1.1.2. •Synthetic Agents :-Oxyphencyclimine Hcl(pepticin, Daricon), Dicyclomine Hcl, Benzhexol หรือ Trihexylphenidyl Hcl(artane)

1.1.3. ดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดได้ดีและมีผลข้ างเคียงต่อระบบ ประสาทส่วนกลางน้อยกว่า

1.1.4. •สงบระงับ มึนงง ---->กระสับกระส่ายอารมณ์ฉุนเฉียว ประสาทหลอน เพ้อคลั่ง

1.1.5. •รูม่านตาขยายและการปรับภาพของตาเสียไป ลดการหลั่ง น้ำตา

1.1.6. • อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น หลอดเลือดผิวหน้าขยาย

1.1.7. •ยับยั้งการหลั่งน้ำลาย การเคลื่อนไหวของทางเดินอาหาร

1.1.8. •ขยายตัวของหลอดลม ลดสารคัดหลั่ง

1.1.9. •คลายกล้ามเนื้อ Detrusor ของกระเพาะปัสสาวะ

1.1.10. ยาถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับ ถูกขับออกทางปัสสาว

1.2. Nicotinic Receptors Antagonists

1.2.1. •ยาคลายกล้ามเนื้อ ( Neuromuscular Blockers หรือ Muscle Relaxants ) •Depolarizing Neuromuscular Blocking Agents •Non- Depolarizing Neuromuscular Blocking Agents

2. Cholinergic Agent

2.1. Anticholinesterase Agents

2.1.1. •กล้ามเนื้อลายหดตัว

2.1.2. •ความสามารถในการยับยั้ง AcetylcholinesteraseEnzyme

2.1.2.1. แบบถาวร

2.1.2.1.1. Parathion

2.1.2.1.2. Malathion

2.1.2.2. แบบไม่ถาวร

2.1.2.2.1. Physostigmine

2.1.2.2.2. Neostigmine

2.1.2.2.3. Pyridostigmine (Mestinon®)

2.1.3. •เพิ่ม Tone /แรงบีบตัว/การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและ ลำไส้

2.1.4. •ถูกขับออกทางปัสสาวะ

2.1.5. • ต้อหิน

2.2. Cholinergic Activating Drugs

2.2.1. •Carbachol(miostat)

2.2.1.1. ๏ทำให้รูม่านตาหรี่ เพื่อการผ่าตัดต้อ

2.2.1.2. ๏การผ่าตัด Anterior Segment ใช้ลดความดันในลูกตา

2.2.2. •Bethanechol(urecholine)

2.2.2.1. ๏กระเพาะอาหารไม่เคลื่อนไหว

2.2.2.2. ๏ใช้รักษาปัสสาวะคั่ง

2.2.2.3. ๏ท้องอืดหลังผ่าตัด

2.2.3. •Pilocarpine(isoptocarpine)

2.2.3.1. ๏ใช้รักษาต้อหิน

2.2.3.2. ๏ใช้รักษาอาการพิษของ Atropine

2.2.3.3. ๏ฉีดเข้าใต้ผิวหนังหรือหยอดตา

2.2.3.4. ๏การแก้พิษ Atropine Sulphate IVหรือ SC

2.2.4. •ขยายตัวหลอดเลือด

2.2.5. •เพิ่มแรงการบีบตัว การหลั่งน้ำย่อย

2.2.6. •กระตุ้นการเคลื่อนไหวทางเดินปัสสาวะ

2.2.7. •หลั่งสารคัดหลั่ง ต่อมต่างๆ หลอดลมหดเกร็ง

2.2.8. •ดูดซึมทางเดินได้ไม่ดีจากทางเดินอาหาร