บทที่ 1 การเมืองการปกครอง รูปแบบ ลักษณะ และลัทธิ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 1 การเมืองการปกครอง รูปแบบ ลักษณะ และลัทธิ by Mind Map: บทที่ 1   การเมืองการปกครอง รูปแบบ ลักษณะ และลัทธิ

1. ความหมายของคำว่า "การเมือง" และ "การปกครอง"

1.1. การเมือง (Politics)

1.1.1. หมายถึง การแข่งขันเพื่อแสวงหาอำนาจซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมและคนหมู่มาก

1.2. การปกครอง (Government)

1.2.1. หมายถึง เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารในการวางกฎระเบียบในสังคม เพื่อให้เกิดความสงบสุขของประชาชน

2. ความหมายทางรัฐศาสตร์ ของคำว่า "การเมือง" และ "การปกครอง"

2.1. การเมือง

2.1.1. หมายถึง กิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมายในการกำหนดทิศทางการปกครอง

2.2. การปกครอง

2.2.1. หมายถึง การใช้อำนาจของรัฐเพื่อไปจัดระเบียบและควบคุมสังคม

3. อำนาจอธิปไตย

3.1. หมายถึง อำนาจสูงสุดของประเทศเป็นอำนาจเด็ดขาดและเต็มที่ในการบัญญัติและออกกฎหมาย โดยที่ประเทศนั้นจะต้องมีอธิปไตยเป็นของตัวเอง

3.1.1. แบ่งออกเป็น 3 อำนาจ

3.1.1.1. อำนาจนิติบัญญัติ

3.1.1.1.1. หมายถึงอำนาจในการออกกฎหมาย

3.1.1.2. อำนาจบริหาร

3.1.1.2.1. หมายถึงอำนาจในการนำกฎหมายไปบังคับใช้

3.1.1.3. อำนาจตุลาการ

3.1.1.3.1. หมายถึงอำนาจในการตัดสินคดีความตามตัวบทกฎหมาย

4. รูปแบบการปกครอง

4.1. เผด็จการ (Dictatorship) หรือ การปกครองโดยคนๆเดียว

4.1.1. หมายถึง การปกครองที่มีเพียงคนๆเดียวเป็นผู้ครอบครองอำนาจอธิปไตย อยู่เหนือทุกคน สามารถวางระบบกฎเกณฑ์ได้ลำพังโดยไม่ต้องฟังเสียงประชาชน

4.1.1.1. รูปแบบการปกครอง

4.1.1.1.1. เพื่อประชาชน

4.1.1.1.2. เพื่อผู้ปกครอง

4.2. เผด็จการโดยคณะปกครอง หรือ การปกครองโดยคณะบุคคล

4.2.1. หมายถึงระบบการปกครองที่มีกลุ่มคณะบุคคลหนึ่ง สามารถวางกฎเกณฑ์การบริหารจัดการประเทศเพื่อประโยชน์ของพวกพ้อง

4.2.1.1. รูปแบบการปกครอง

4.2.1.1.1. เพื่อประชาชน

4.2.1.1.2. เพื่อผู้ปกครอง

4.3. การปกครองด้วยคนทั้งหมด หรือ เสียงคนส่วนใหญ่

4.3.1. หมายถึงการปกครองที่ประชาชนเป็นเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตยร่วมกัน

4.3.1.1. รูปแบบการปกครอง

4.3.1.1.1. เพื่อประชาชน

4.3.1.1.2. เพื่อผู้ปกครอง

5. ระบบการเมืองไทยสมัยรัฐบาลทหาร

5.1. Edward Shils นักรัฐศาสตร์ยุคใหม่แบ่งระบบการเมืองไทยสมัยรัฐบาลทหารไว้ 2 รูปแบบ

5.1.1. แบบคณาธิปไตยนำสมัย

5.1.1.1. คือ ครอบคลุมราชการและทหาร โดยไม่มีรัฐธรรมนูญ โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้น

5.1.2. แบบประชาธิปไตยชี้นำ

5.1.2.1. คือ รวบอำนาจไว้ที่ฝ่านเดียว ยังคงมีรัฐสภา ยังคงมีรัฐธรรมนูญ แต่ก็เป็นเพียงในรูปแบบเพราะจริงแล้วฝ่านนิติบัญญัติยังไม่เข็มแข็ง

6. ลักษณะการใช้อำนาจ

6.1. เผด็จการเบ็ดเสร็จ หรือ ควบคุมทั่วหน้า

6.1.1. คือ รัฐบาลใช้อำนาจควบคุมประชาชนทุกด้าน ยึดแนวคดที่ว่า "ผู้นำถูกต้องเสมอ"

6.1.1.1. เช่น รูปแบบการปกครองสมัยจอมพล ป. พิบูล สงคราม

6.2. เผด็จการอำนาจนิยม

6.2.1. คือ รัฐบาลจะให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชน เว้นแต่เรื่องการเมือง

6.2.1.1. เช่น รูปแบบการปกครองสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์

6.3. อิสระนิยม หรือ เสรีนิยม

6.3.1. คือ ประชาชนมีสิทธิเสรีภพอย่างกว้างขวาง และรัฐบาลใช้อำนาจการปกครองน้อยที่สุด

6.3.1.1. เช่นการปกครองของประเทศอเมริกา และประเทศทุนนิยมต่างๆ

7. ลัทธิ และอุดมการ์ณ

7.1. คือ ความเชื่อ หรือจุดมุ่งหมายในการปกครอง เพื่อเป็นรากฐานในการวางนโยบาย

7.1.1. ลัทธิฟาสซิสต์ และลัทธินาซี

7.1.2. ลัทธิคอมนิวนิสต์

7.1.3. ลัทธิสังคมนิยม

7.1.4. ลัทธิทุนนิยม

7.1.5. ลัทธิจักรวรรดินิยม

7.1.6. ลัทธิชาตินิยม

7.1.7. ลัทธิอนาธิปไตย

7.1.8. ลัทธิเทวสิทธิ์