1. ๑. คำนาม
1.1. คำนาม คือ คำที่แสดงความหมายถึงบุคคล สัตว์ วัตถุ สิ่งของ สภาพ อาการ ลักษณะซึ่ง หมายรวมทั้งสิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและที่เป็นนามธรรม ขอให้สังเกตคำที่ขีดเส้นใต้ต่อไปนี้ แมว กัด หนู
2. ๒. คำสรรพนาม
2.1. คำสรรพนามคำสรรพนาม คือคำที่ใช้แทนคำนาม ที่ผู้พูดหรือผู้เขียนได้กล่าวแล้ว หรือเป็นที่เข้าใจกันระหว่าง ผู้ฟังและผู้พูด เพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามซ้ำ ดังจะเห็นต่อไปนี้ นายสิริเพื่อนของนายประสิทธิ์กล่าวแก่นายประสิทธิ์ว่า "ระหว่างทางไปโรงเรียน ขอให้นายประสิทธิ์แวะที่วัด เรียนหลวงปู่ของนายสิริ
2.1.1. การใช้คำสรรพนามในการสื่อสาร
2.1.1.1. 1. สรรพนามแทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ที่กล่าวถึงหรือคิดถึง
2.1.1.2. 2. สรรพนามใช้ชี้ระยะ
2.1.1.3. 3. สรรพนามใช้ถาม
2.1.1.4. 4. สรรพนามบอกความไม่เจาะจง
2.1.1.5. 5. สรรพนามบอกความชี้ซ้ำ
2.1.1.6. 6. สรรพนามเชื่อมประโยค
2.1.1.7. 7. สรรพนามใช้เน้นนามตามความรู้สึกของผู้พูด
3. ๓. คำกริยา
3.1. 1) กริยาใช้เป็นส่วนขยายของคำนาม
3.2. 2) กริยาใช้เหมือนคำนาม
4. ๔. คำวิเศษณ์
4.1. ข้อควรสังเกต
4.1.1. 1. คำบางคำอาจทำหน้าที่เป็นคำวิเศษณ์ และในบางโอกาสทำหน้าที่เป็นคำกริยาสำคัญใน ประโยค
4.1.2. 2. คำนามบางคำ อาจทำหน้าที่ขยายคำอื่นได้ ซึ่งในกรณีนี้ถือว่าคำนามคำนั้น ทำหน้าที่ คำวิเศษณ์
4.1.3. 3. ในการเรียงคำเข้าประโยคในภาษาไทย ส่วนใหญ่เรามักให้ส่วนขยายตามหลังคำที่ขยาย
5. ๕. คำสันธาน
5.1. ข้อสังเกต
5.1.1. 1. คำสันธาน อาจมีความหมายช่วยให้เราเข้าใจ
5.1.2. 2. ต่อไปนี้เป็นคำสันธานที่เชื่อมคำกับคำ หรือกลุ่มคำกับกลุ่มคำ
5.1.3. 3. คำสันธานบางคำใช้เข้าคู่กัน
5.1.4. 4. คำสันธานอาจอยู่ในตำแหน่งต่างๆ
5.1.5. 5. มีคำบางคำกรณีก็ใช้เป็นบุพบท บางกรณีก็ใช้เป็นสันธาน
5.1.6. 6. คำสันธานอาจเป็นกลุ่มคำก็ได้