การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในท้องถิ่น

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในท้องถิ่น by Mind Map: การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ในท้องถิ่น

1. ข้อดี/ข้อจ ำกัด การจัดการเรียนรู้โดยใช้ศูนย์การเรียนรู้ท้องถิ่น/ชุมชน

1.1. ข้อดี

1.1.1. 1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนตามความสามารถ ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง

1.1.2. 2. ส่งเสริมความเป็นผู้ใฝ่รู้ของนักเรียน เปิดโอกาสให้แสวงหา ความรู้ด้วยตนเอง

1.1.3. 3. ส่งเสริมความรับผิดชอบในการเรียนของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม

1.1.4. 4. ส่งเสริมความเชื่อมั่นในการเรียนรู้ของผู้เรียน

1.1.5. 5. ส่งเสริมการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มสร้างความสามัคค

1.1.6. 6. ช่วยลดปัญหาการขาดแคลนครูผู้สอน

1.1.7. 7. สามารถใช้ได้กับกลุ่มผู้เรียนจ ำนวนมาก

1.1.8. 8. ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น

1.1.9. 9. ผู้เรียนเกิดความรักท้องถิ่นและเกิดความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งที่มีคุณค่าในท้องถิ่น

1.2. ข้อจำกัด

1.2.1. 1. ถ้าใช้กับผู้เรียนกลุ่มใหญ่เกินไปอาจท าให้ผู้เรียนไม่สามารถมองเห็นการสาธิตได้อย่างทั่วถึง

1.2.2. 2. การให้กลุ่มผู้เรียนหมุนเวียนกันเรียนในแต่ละศูนย์อาจไม่เป็นไปตามล าดับขั้นของหลักสูตร

1.2.3. 3. หากผู้เรียนกลุ่มใหญ่มากเกินอาจจะไม่ได้ผลดีและยากแก่การควบคุม

2. แนวคิดในการจัดการเรียนรจู้ากแหล่งการเรียนรู้

2.1. การบริหารสถานศึกษาปัจจุบันเน้นการบริหารคุณภาพ ตามวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) ซึ่งสถานศึกษาสามารถน ามาใช้ในการบริหารแหล่งการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดแหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษามี คุณภาพ การบริหารคุณภาพจะท าให้ การบริหารงานพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา

3. ตัวอย่างศูนย์การเรียนรู้

3.1. ศูนย์อินแปง อำเภอกุดบาก จังหวัดสกลนคร

3.2. ศูนย์การเรียนรู้ “ผ้าย้อมขี้ควาย” บ้านนาเชือก จ.สกลนคร

3.3. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงต ำบลพิมำน จังหวัดนครพนม

3.4. ศูนย์การเรียนรู้บ้านภู จังหวัดมุกดาหาร

3.5. ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ อำเภอนาหว้า จังหวัดนตรพนม

4. ความหมายของศูนย์การเรียนรู้ในท้องถิ่น

4.1. ศูนย์เรียนรู้ชุมชน เป็นศูนย์กลางรวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ของชุมชนที่จะน าไปสู่การส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ส าหรับประชาชน ในชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ การถ่ายทอด การ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ของชุมชน

5. องค์ประกอบศูนย์การเรียนรู้ในท้องถิ่น

5.1. 1. แหล่งที่มาของความรู้และเนื้อหาความรู้

5.2. 2. วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้

5.3. 3. อุปกรณ์สำหรับการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้

5.4. 4. สถานที่เรียนรู้

5.5. 5. การประเมินและติดตามผลการเรียนรู้

5.6. 6. ผู้จัดการเรียนรู้หรือผู้ที่ด าเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้

5.7. 7. ผู้เรียน

6. การบริหารและจัดการแหล่งการเรียนรู้

6.1. 1. กำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาและใช้แหล่งการเรียนรู้ไว้ในแผนกลยุทธ์

6.2. 2. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา

6.3. 3. ประสานความร่วมมือกับชุมชนร่วมมือในการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาและ สร้างบรรยากาศให้ สถานศึกษาเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้

6.4. 4. กำหนดให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตร หรือกลุ่มสาระการเรียนรู้ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แหล่งการเรียนรู้มาบูรณาการทั้งเนื้อหาสาระและจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

6.5. 5. กำหนดมาตรการให้ครูผู้สอนใช้สื่อที่หลากหลาย และใช้แหล่งการเรียนรู้ ในสถานศึกษา

6.6. 6. ประเมินผลการใช้แหล่งการเรียนรู้รวบรวมข้อมูลสารสนเทศ ปัญหา อุปสรรค อย่างต่อเนื่อง

6.7. 7. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การพัฒนาและใช้แหล่งการเรียนรู้

6.8. 8. สร้างเครือข่ายการเรียนรู้

7. ลักษณะของการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้

7.1. 1. การจัดการเรียนรู้เน้นความสำคัญที่ผู้เรียน

7.2. 2. ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการฝึกทักษะการใช้กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การสังเกต การรวบรวม ข้อมูล และการปฏิบัติจริง

7.3. 3. ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข สนุกกับการเรียนรู้ได้คิด แสดงออกอย่างอิสระ

7.4. 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทั้งระบบ

7.5. 5. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ของผู้สอนให้มาเป็นผู้รับฟัง

7.6. 6. ต้องการให้เรียนรู้ในสิ่งที่มีความหมายต่อชีวิต

7.7. 7. ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสจัดกิจกรรมได้เรียนรู้ตามความต้องการ

7.8. 8. ถือว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่

7.9. 9. ปลูกฝังสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมค่านิยมที่ดีงาม