นวัตกรรมการเรียนรู้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมการเรียนรู้ by Mind Map: นวัตกรรมการเรียนรู้

1. 2.)ประเภทนวัตกรรมการศึกษา

1.1. 2.1)แบ่งตามลักษณะ

1.1.1. เครื่องมือ

1.1.2. วัสดุ

1.1.3. วิธีการ

1.2. 2.2) นวัตกรรมแบ่งเป็น 2 ส่วน

1.2.1. 1)นวัตกรรมสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา

1.2.1.1. 1.1)ด้านหลักสูตร

1.2.1.1.1. หลักสูตรในระบบ

1.2.1.1.2. หลักสูตรบูรณาการ

1.2.1.1.3. หลักสูตรท้องถิ่น

1.2.1.1.4. หลักสูตรฝึกอบรม

1.2.1.2. 1.2)ด้านการประเมินผล

1.2.1.2.1. การสร้างแบบทดสอบ

1.2.1.2.2. การสร้างแบบประเมินทางด้านความรู้ จิตพิสัย ทักษะพิสัย

1.2.1.2.3. แบบประเมินนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ พฤติกรรมต่างๆ

1.2.1.2.4. แบบวัดกระบวนการคิดต่างๆ

1.2.1.3. 1.3)ด้านการบริหารจัดการ

1.2.1.3.1. เป็นการตัดสินใจในการที่จะเลือกหรือรับในสิ่งต่างๆในสถานศึกษานั้นๆ

1.2.2. 2.)ผู้สนับสนุนการเรียน การสอนและศึกษานิเทศ

1.2.2.1. 2.1)นวัตกรรมสำหรับผู้สอน

1.2.2.1.1. ด้านเครื่องมือ

1.2.2.1.2. ด้านสื่่อ

1.2.2.1.3. ด้านวิธีการ

2. 1.)ทฤษฎี ความหมาย แนวคิด ความสำคัญทางนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

2.1. 1.1)Innovation(นวัตกรรม)

2.1.1. แนวความคิด

2.1.2. วิธีการปฏิบัติแบบใหม่

2.1.3. สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ

2.1.4. ดัดแปลงจากของเดิม

2.2. 1.2)Education of innovation

2.2.1. ด้านเครื่องมือหรืออุปกรณ์

2.2.1.1. คอมพิวเตอร์

2.2.1.2. เครื่องวิชวลไลเซอร์

2.2.1.3. เครื่องแอลซีดี

2.2.2. ด้านสื่อการสอน

2.2.2.1. บทเรียนคอร์สแวร์

2.2.2.2. การเรียนการสอนผ่านเว็บ

2.2.2.3. Elearning

2.2.2.4. วิดีโอสตรีมมิ่ง

2.2.2.5. Social media for Learning

2.3. 1.3)การพัฒนาเทคโนโลยี

2.3.1. สถานศึกษาที่มีความพร้อมทางด้านเทคโนโลยี

2.3.1.1. มีการพัฒนานวัตกรรมมากมาย

2.3.1.1.1. เริ่มพัฒนาตั้งแต่การใช้กระดานดำ กระดานไวน์บอร์ด เครื่องฉายข้ามศีรษะ คอมพิวเตอร์

2.3.1.1.2. สื่อการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบต่างๆ จนมาถึงสมาร์ทบอร์ด

2.3.1.2. ความพร้อมในด้านต่างๆ

2.3.1.2.1. อุปกรณ์

2.3.1.2.2. สถานที่

2.3.1.2.3. งบประมาณ

2.3.1.2.4. บุคลากร

2.3.2. สถานศึกษาที่ขาดความพร้อมทางด้าานเทคโนโลยี

2.3.2.1. ใช้การเรียนการสอนรูปแบบเดิม

2.3.2.1.1. ขาดงบประมาณ

2.3.2.1.2. อุปกรณ์ เทคโนโลยียังไม่ทั่วถึง

2.3.2.1.3. ขาดสถานที่

2.3.2.1.4. ขาดบุคลากร

2.3.2.1.5. ประดิษฐิ์สื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนขึ้นมาเอง

3. 3.)การศึกษาในศตวรรษที่ 21

3.1. 3.1)สาระการเรียนรู้ที่ต้องเรียน

3.1.1. ภาษาอังกฤษ การอ่าน ศิลปะการใช้ภาษา

3.1.2. ภาษาสากลต่างๆ

3.1.3. ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

3.1.4. วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์

3.1.5. การปกครองและสิทธิหน้าที่พลเมือง

3.2. 3.2)ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม

3.2.1. หลัก 3Rs(3รู้)

3.2.1.1. รู้อ่านรู้เขียน (literacy)

3.2.1.2. รู้คณิต (numeracy)

3.2.1.3. รู้ ICT (information and communications technology literacy)

3.2.2. หลัก 4c(4ก.)

3.2.2.1. การคิดแบบมีวิจารณญาณ (Critical thinking)

3.2.2.2. การสื่อสาร (Communication)

3.2.2.3. การทำงานร่วมกัน (Collaboration)

3.2.2.4. การสร้างสรรค์ (Creativity)

3.3. 3.3)แนวคิดสำคัญ

3.3.1. ความรู้เกี่ยวกับโลก

3.3.2. ความรู้ด้านการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ ผู้ประกอบการ

3.3.3. ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี

3.3.4. ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม

3.3.5. ความรู้ด้านสุขภาพ

4. 4)ทฤษฎี ความหมาย ขอบเขต แนวคิดความสำคัญ ทางนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร

4.1. 4.1)ความหมาย

4.1.1. เทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

4.2. 4.2)Information Technology

4.2.1. อุปกรณ์เทคโนโลยีที่ทันสมัย

4.2.1.1. คอมพิวเตอร์

4.2.1.2. LCD

4.2.1.3. วิชวลไลเซอร์

4.2.2. สื่อการสอน

4.2.2.1. WBI

4.2.2.2. E learning

4.2.2.3. Social media for learning

4.3. 4.3)Non Information Technology

4.3.1. เป็นการพัฒนาการเรียนการสอนที่ไม่ต้องใช้เทคโรโลยี

4.3.2. มีเทคนิควิธีการสอนแบบใหม่

4.3.3. ประดิษฐิ์สื่อการเรียนการสอนแบบใหม่

4.3.4. ขาดงบประมาณ บุคลากร

4.3.5. มีแนวคิดปละวิธีการปฏิบัติในรูปแบบใหม่ๆ

5. 5.)เครื่องมือบนโลกออนไลน์(New Media)

5.1. Online Learning

5.1.1. 1.)AR Type

5.1.1.1. Holo,Aurasma

5.1.2. 2.)Presentation Type

5.1.2.1. Power point

5.1.3. 3.)Animation Type

5.1.3.1. Go Ara-mate,Vok

5.1.4. 4.)Game Type

5.1.4.1. เกมจำลองสถานการณ์

5.1.5. 5.)Blog Type

5.1.5.1. การทำ Log ไว้เก็บข้อมูลและสามารถแบ่งปันกันได้

5.1.6. 6.)Encyclopedia Type

5.1.6.1. Wikipedia

5.1.7. 7.)Personal Website type

5.1.7.1. Google sites& wiki paces

5.1.8. 8.Social Media Type

5.1.8.1. Facebook,Twitter,IG

5.1.9. 9.)Info-graphic Type

5.1.9.1. Powtoon,Piktochart

5.1.10. 10.)Curation type

5.1.10.1. Scoop it,Pint Terest

5.1.11. 11.)video-based Sharing Type

5.1.11.1. เรียนรู้จากคลิปวิดีโอ

5.1.12. 12.)LMS Type

5.1.12.1. Learning Management System

5.1.12.1.1. ระบบการจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายออนไลน์ จะประกอบด้วยเครื่องมืออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้สอน ผู้เรียน ผู้ดูแลระบบ

5.1.12.1.2. ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management)

5.1.12.1.3. ระบบการสร้างบทเรียน (Content Management)

5.1.12.1.4. ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System)

5.1.12.1.5. ระบบส่งเสริมการเรียน (Course Tools)

5.1.12.1.6. ระบบจัดการข้อมูล (Data Management System)

6. 6.)แอพพลิเคชั่นเพื่อการศึกษา(Apps for Education)

6.1. นวัตกรรมหรือแอพำลิเคชั่นที่ช่วยให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่าผู้สอนกับผู้เรียน และทำให้การเรียนสอนไม่น่าเบื่อ

6.1.1. Aurasma(AR)

6.1.1.1. แอพพลิเคชันสำหรับการสร้างสื่อแบบเสมือนจริง และโต้ตอบได้ เช่น ภาพเคลื่อนไหววีดิทัศน์ และภาพ 3 มิติ

6.1.2. PingPong

6.1.2.1. สร้งกิจกรรม แบบทดสอบและแบบฝึกหัด

6.1.3. Mind Mesiter

6.1.3.1. เว็บไซต์ที่ทำหน้าที่สร้างแผนผังความคิดแบบออนไลน์ ใช้งานได้โดยไม่ต้องลงโปรแกรมใดๆ รองรับภาษาไทย

6.1.4. Twitter

6.1.4.1. เป็นเครื่องมือที่สามารถส่งข้อคว่มได้ไม่เกิน 140 ตัวอักษร

7. 7.)ประโยชน์ของสื่อการเรียนรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา

7.1. สื่อเสริม หรือ ทบทวน

7.2. การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ

7.2.1. ถ่ายทอดเนื้อหาทางมัตติพีเดียและสื่อผสม

7.2.1.1. ข้อความ

7.2.1.2. ภาพนิ่ง

7.2.1.3. ภาพการฟฟิก

7.2.1.4. ภาพเคลื่อนไหว

7.2.1.5. วิดิทัศน์และเสียง

7.2.1.6. การเชื่อมโยงแบบ Hyperlink

7.2.2. เนื้อหาทันสมัย

7.2.3. เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

7.2.3.1. สนุกไปกับการเรียนรู้(Learning with fun)

7.2.4. เนื้อหาเข้าถึงง่าย สามารถแก้ไขหรือเพิ่มเนื้อหาได้

7.2.5. ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของผู้เรียน

7.2.6. สร้างความกระตือรือร้นในการเรียน

7.2.7. ให้ความเท่าเทียมในการศึกษาหาความรู้

7.2.8. ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนเองได้ตามศักยภาพของตน

8. 8.)พัฒนาการและแนวโน้มของนวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในอนาคต

8.1. ระบบการศึกษาแบบเก่า

8.1.1. ผู้สอนเน้นตัวเองเป็นศูนย์กลางโดยการวางแผนการสอนและเตรียมเนื้อหาไว้ล่วงหน้า

8.2. ระบบการศึกษาแบบใหม่

8.2.1. เป็นการให้ผู้เรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองจากอุปกรณ์เทคโนโลยีหรือเครือข่ายและผุ้สอนจะคอยช่วยเหลือ ให้คะแนะนำโดยที่จะเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

8.2.2. Easy = สะดวกใช้งานง่าย

8.2.3. Engage = การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยมีการใช้อุปกรณ์ IT

8.2.4. Effective = กิจกรรมประโยชน์ต่อผู้เรียน

8.2.5. Mobile = ใช้อุปกรณืที่พกพาได้

8.2.6. Personal = การตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล

8.2.7. Social = การเรียนรู้ผ่านเครือข่ายออนไลน์