การจำแนกประเภทของผักออกเป็นประเภทต่างๆ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การจำแนกประเภทของผักออกเป็นประเภทต่างๆ by Mind Map: การจำแนกประเภทของผักออกเป็นประเภทต่างๆ

1. 1.การจำแนกผักตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ นิยมใช้การศึกษาวิจัยเป็นเกณฑ์จำแนกที่สากลอาศัยความเกี่ยวข้องกันของผัก มีการเจริญเติบโตในสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศคล้ายคลึงกัน นอกจากนี้ผักประเภทเดียวกันมักมีระบบเจริญเติบโตทาง ราก ลำต้น และใบ ระบบการสืบพันธุ์ ส่วนมากจะนิยมจำแนกผักตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ถึงแค่ระดับตระกูล

1.1. ตระกูลถั่ว

1.1.1. 1.กระถิน

1.1.2. 2.แค

1.1.3. 3.ชะอม

1.1.4. 4.ถั่วแขก

1.1.5. 5.ถั่วฝักยาว

1.1.6. 6.ถัวลันเตา

1.1.7. 7.มันแกว

1.1.8. 8.โสน

1.2. ตระกูลกะหล่ำ

1.2.1. 1.กะหล่ำดอก

1.2.2. 2.กะหล่ำดาว

1.2.3. 3.กะหล่ำปลี

1.2.4. 4.กวางตุ้ง

1.2.5. 5.คะน้า

1.2.6. 6.ผักกาดขาวปลี

1.2.7. 7.ผักกาดเขียวปลี

1.2.8. 8.ผักกาดหัว

1.2.9. 9.บล็อกโคลี่

1.3. ตระกูลแตงกวา

1.3.1. 1.แตงกวา

1.3.2. 2.แตงเทศ

1.3.3. 3.แตงโม

1.3.4. 4.ตำลึง

1.3.5. 5.บวบเหลี่ยม

1.3.6. 6.บวบหอม

1.3.7. 7.น้ำเต้า

1.3.8. 8.ฟักทอง

1.3.9. 9.มะระ

1.4. ตระกูลมะเขือ

1.4.1. 1.พริก

1.4.2. 2.พริกยักษ์

1.4.3. 3.พริกหวาน

1.4.4. 4.มะเขือ

1.4.5. 5.มะเขือเทศ

1.4.6. 7.มะแว้ง

1.5. ตระกูลอื่นๆ

1.5.1. 1.ข้าวโพดหวาน

1.5.2. 2.ขึ้นฉ่าย

1.5.3. 3.เครื่องเทศ

1.5.4. 4.ผักกาดหอม

1.5.5. 5.ผักชี

1.5.6. 6.ผักบุ้กจีน

1.5.7. 7.สมุรไพร

2. 2.การจำแนกผักตามส่วนที่ใช้บริโภค ได้แก่ ใบ ลำต้น รากดอกผลและเมล็ดการผลิตผักเพื่อต้องการส่วน จึงจำเป็นต้องเพิ่มปริมาณปุ๋ยที่ให้ธาตุไนโตรเจนส่วนการผลิตของดอกผลเมล็ดและระบบรากที่แข็งแรงเพิ่มปุ๋ยให้ธาตุฟอสฟอรัส. ความแข็งแรงและรสชาติหวานของผลที่ได้จากปุ๋ยให้ธาตุโพเทสเซียมนอกจากนี้การปลูกผักที่ต้องการส่วนต่างๆเช่น ผักบริโภคส่วนของระบบรากจะไม่เพราะกล้าเพื่อที่ทำการย้ายปลูก ส่วนที่ใช้บริโภคของผักจำแนกดังนี้

2.1. ราก

2.1.1. 1.รากแก้ว

2.1.1.1. แครอท

2.1.1.2. เทอร์นิพ

2.1.1.3. ผักกาดหัว

2.1.2. 2.รากแขนง

2.1.2.1. มันเทศ

2.2. ลำต้น

2.2.1. 1.ลำต้นเหนือดิน

2.2.1.1. กะหล่ำปม

2.2.1.2. หน่อไม้ฝรั่ง

2.2.2. 2.ลำต้นใต้ดิน

2.2.2.1. ขิง

2.2.2.2. ข่า

2.2.2.3. เผือก

2.2.2.4. มันฝรั่ง

2.2.2.5. มันมือเสือ

2.2.2.6. หน่อไม้

2.3. ใบ

2.3.1. ตระกูลต้นหอม

2.3.1.1. กระเทียม

2.3.1.2. กระเทียมต้น

2.3.1.3. หอมแดง

2.3.1.4. หอมแบ่ง

2.3.1.5. หอมหัวใหญ่

2.3.2. กลุ่มใบกว้าง

2.3.2.1. กระหล่ำปลี

2.3.2.2. คะน้า

2.3.2.3. ปวยเล้ง

2.3.2.4. ผักกาดขาวปลี

2.3.2.5. ผัดกาดหอมดอก

2.4. ดอก

2.4.1. ตาดอกอ่อน

2.4.1.1. กระหล่ำดอก

2.4.1.2. บล็อกโคลี่

2.4.2. ดอกแก

2.4.2.1. แค

2.4.2.2. โสน

2.5. ผล

2.5.1. ผลอ่อน

2.5.1.1. กระเจี๊ยวเขียว

2.5.1.2. ข้าวโพดฝักอ่อน

2.5.1.3. แตงกวา

2.5.1.4. ถั่วฝักยาว

2.5.1.5. ถั่วลันเตา

2.5.1.6. บวบเหลี่ยม

2.5.1.7. มะเขือ

2.5.1.8. มะระ

2.5.2. ผลแก่

2.5.2.1. ตระกูลแตง

2.5.2.1.1. แตงเทศ

2.5.2.1.2. ฟักทอง

2.5.2.1.3. แตงโม

2.5.2.2. ผักตระกูลมะเขือ

2.5.2.2.1. พริก

2.5.2.2.2. มะเขือเทศ

3. 3.จำแนกตามฤดูที่เหมาะสม ขึ้นอยู่กับฤดูกาลมีผลเกี่ยวกับลักษณะทางสภาพภูมิอากาศปละภูมิประเทศขอฃพื้นที่นั้นๆสำหรับประเทศไทยเขตร้อนชื้นตลอดปีมี3ฤดู ฤดูฝน เดือน มิถุนายน-กันยายน ฤดูหนาว เดือน ตุลาคม-มกราคม ฤดูร้อน เดือน กุมภาพันธ์-พฤษภาคมทั่วไปพืชปลูกได้ตลอดปี

3.1. ผักฤดูหนาว ผักเติบโตได้ดีในอุณหภูมิ 18-28องศา

3.1.1. กระหล่ำดอก

3.1.2. กระหล่ำปลี

3.1.3. กระเทียม

3.1.4. แครอท

3.1.5. บล็อกโคลี่

3.1.6. ผักกาดเขียวปลี

3.1.7. ผักกาดหัว

3.1.8. ผักกาดหอม

3.1.9. มันฝรั่ง

3.1.10. หัวหอมใหญ่

3.2. ผักฤดูร้อน ผักเติบโตได้ดีในอุณหภูมิ 18-28องศาปลูกนมประเทศไทยให้ผลผลิตสูงทั้งปี

3.2.1. กระเจี๊ยบเขียว

3.2.2. ข้าวโพดหวาน

3.2.3. ผักตระกูลแตงทุกชนิด

3.2.4. ผักตระกูลมะเขือทั้งหมดยกเว้น พริกยักษ์ พริกหวาน

3.2.5. ผักตระกูลถั่ว ยกเว้นถั่วลันเตา

3.3. ผักฤดูฝน ผักเจริญเติบโตได้ดีในอุณหภูมิ 25-28 องศาทนฝน

3.3.1. ผักตระกูลแตงทั้งหมด ยกเว้น แตงเทศ

3.3.2. ผักตะกลูมะเขือ

3.3.3. ถั่วฝักยาว