BUN หรือ Blood Urea Nitrogen

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
BUN หรือ Blood Urea Nitrogen by Mind Map: BUN หรือ Blood Urea Nitrogen

1. ข้อบ่งชี้ในการตรวจ

1.1. ตรวจสุขภาพทั่วไปหรือตรวจสุขภาพตามระยะเวลา

1.2. มีอาการเหนื่อยอ่อน เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ

1.3. มีอาการบวมน้ำบริเวรขอบตา ใบหน้า ต้นขา ข้อเท้า หลังเท้า

1.4. ปัสสสาวะมีลักษณะเป็นฟองมากผิดปกติ หรือมีเลือดปน หรือมีสีคล้ายกาแฟ

1.5. ถ่ายปัสสาวะในแต่ละครั้งออกมาได้น้อยกว่าปกติ

1.6. มีความผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะในด้านอื่นๆ เช่น รู้สึกแสบร้อน ถ่ายปัสสาวะบ่อย

1.7. มีอาการปวดหลังตรงบริเวณบั้นเอวใกล้เคียงกับตำแหน่งของไต

1.8. กระสับกระส่าย ไม่มีความปกติสุข โดยยังหาคำตอบไม่ได้ ว่าเกิดจากเหตุใด

2. ค่าปกติของ BUN

2.1. ค่าปกติทั่วไปในเด็ก 5-18 mg/dL

2.2. ค่าปกติทั่วไปในผู้ใหญ่ 10-20 mg/dL

3. ค่า BUN ที่ต่ำกว่าปกติ แสดงผลได้ว่า

3.1. อาจบริโภคอาหารประเภืโปรตีนน้อยเกินไป

3.2. อาจกำลังอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ(ทารกกินนมมารดา) หรือขาดแคลนอาหาร

3.3. กลไกการดูดซึมอาหารอาจเกิดความบกพร่อง

3.4. ตับอาจกำลังมีเหตุร้ายแรงหรือกำลังมีโรคสำคัญ

3.5. อาจมีปริมาณน้ำในร่างกายมากเกินไป Overhydrated

3.6. อาจเกิดจากยารักษาโรคบางชนิดในประเภทยาปฎิชีวนะ

4. วิธีการปฎิบัตตัวเมื่อตรวจพบ BUN มีค่าสูงผิดปกติ

4.1. หาสาเหตุที่ทำให้ค่า BUN สูง และหาทางแก้ไช เช่น ลดการรับประทานเนื่้อสัตว์ ดื่มน้ำให้มากขึ้น รับประทานเท่าที่จำเป็นเหมาะสม หากแก้ไขเบื้องต้นแล้วค่า BUN ยังสูงควรรีบปรึกษาแพทย์

4.2. ดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคไต

4.3. หากมีโรคประจำตัวที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเิกดโรคไต ควรรักษาและติดตามหรือควบคุมดรคให้ดี

4.4. แจ้งแพทย์เสมอหากกำลังใช้ยาสมุนไพร อาหารเสริมหรือสิตตามินใดๆอยู่ เพื่อที่เเพทย์จะได้ใช้เป็นข้อมูลในการประเมินสาเหตุและหาทางแก้ไขหรือรักษษให้เหมาะสมต่อไป

5. ความหมาย

5.1. การตรวจเลือดเพื่อหาปริมาณยูเรีย ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อตรวจดูการทำงานของไต ช่วยประเมินผล และช่วยติดตามผลการรักษาในโรคไต

6. วัตถุประสงค์การตรวจ

6.1. เพื่อตรวจว่าไตทำหน้าที่เป็นปกติดีอยู่หรือไม่

6.2. ตรวจเมื่อแพทย์สงสัยว่าจะเป็นโรคไต

6.3. เพื่อติดตามการทำงานของไตหรือเพื่อดูว่าดรคไตที่เป้นอยู่ก่อนแล้วดีขึ้นหรือแย่ลง

6.4. เพื่อติดตามผลการรักษาว่าไตฟื้นตัวได้ดีเพียงใด

6.5. เพื่อตรวจสอบว่าอาการขาดน้ำดีขึ้นหรือไม่

7. ค่า BUN ที่สูงกว่าปกติ

7.1. อาจบ่งบอกว่าไตกำลังเสียหายหรือตออยู่ในภาวะอันตรายจากเหตุสำคัญหรือโรคร้ายแรง จึงทำให้ไตทำหน้าที่ไม่ได้ แสดงผลได้ว่า

7.1.1. อาจบริโภชอาหารประเภทโปรตีนมากเกินไป

7.1.2. อาจเกิดจากการขาดน้ำ Dehydration หรือดื่มน้ำน้อยผิดปกติ Sever catabolism เช่น การติดเชื้อ หรือหลังผ่าตัด

7.1.3. อาจเกิดจากการออกกำลังกายอย่างหักโหม

7.1.4. การทำงานของไตผิดปกติ เกี่ยวข้องกับภาวะไตเสื่อมเฉียบพลันหรือไตเสื่่อมเรื้อรัง หรือเกิดจากเลือดออกในทางเดินอาหาร

7.1.5. ตับอ่อนอาจหลั่งเอนไซม์ย่อยอาหารบกพร่อง ทำให้เหลือของเสียรวมทั้ง Urea Nitrogen มากกว่าปกติ

7.1.6. ท่อปัสสาวะอาจมีการอุดตันหรือถูกปิดกั้นจนไหลได้ไม่สะดวก อาจเกิดจากนิ่วในไตหรืออาจมีเนื้องอกมาขัดขวางท่อปัสสาวะ

7.1.7. อาจเกิดจากภาวะหัวใจล้มเหลว หรือภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน

7.1.8. อาจเกิดจากภาวะช็อคจากความดันดลหิตต่ำจนเลือดไปเลี้ยงไตไม่พอ

7.1.9. ช่องทางเดินอาหารอาจมีการตกเลือดโดยไม่รู้ตัว

7.1.10. ร่างกายอาจมีแผลไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวกขนาดใหญ่

7.1.11. อาจเกิดจากการรับประทานยาบางชนิด เช่น corticosteroid, tetracycline, furosemide, indomethacin.

7.1.12. ไตอาจเสื่อมลงจากการใช้ยาแผนปัจจุบันที่ซื้อมากินเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์ หรือจากยาที่แพทย์สั่งเพื่อรักษาโรคอื่นแต่ใช้บ่อยหรือใช้เกินขนาด

8. คำแนะนำก่อนตรวจ BUN

8.1. งดน้ำและอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมงก่อนการตรวจ

8.2. ก่อนเจาะเลือด ควรงดหรือลดการบริโภคเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อแดงให้น้อยลง มิฉะนั้น อาจทำให้ได้ค่า BUN ที่สูงมากขึ้นจากปกติ

8.3. การตรวจอื่นที่อาจช่วยยืนยันควรร้ายแรงต่อสุขภาพไตได้ คือค่า Creatinine ค่า Creatitnine clearnce และค่าอัตราส่วนระหว่าง BUN ต่อ Creatinine