Cloacal Malformation

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Cloacal Malformation by Mind Map: Cloacal Malformation

1. การรักษา

1.1. low type

1.1.1. ผ่าตัด Anoplasty ได้เลยตั้งแต่ newborn

1.2. intermediate หรือ high type

1.2.1. ทำ Colostomy ในระยะ newbom

1.2.1.1. ชนิดของโคลอสโตมี แบ่งตามระยะเวลา ได้ 2 แบบ คือ

1.2.1.1.1. แบบชั่วคราว (Temporary Colostomy หรือ Loop Colostomy)

1.2.1.1.2. แบบถาวร (Permanent Colostomy)

1.2.1.2. แบ่งตามจำนวนรูเปิด

1.2.1.2.1. 1. รูเปิดเดี่ยว (Single barreled)

1.2.1.2.2. 2. ชนิดสองรูเปิด (A double barreled colostomy)

1.2.1.3. 3. ลูป โคลอสโตมี (A Loop colostomy)

1.2.1.3.1. เป็นการผ่าตัดแบบชั่วคราว

1.2.1.4. การแบ่งตามตำแหน่งของลำไส้

1.2.1.4.1. 1.บริเวณของลำไส้ตรงด้านขวา เรียกว่า Ascending Colostomy

1.2.1.4.2. 2.บริเวณลำไส้ขวาง เรียกว่า Transverse Colostomy

1.2.1.4.3. 3.บริเวณลำไส้ตรงด้านซ้าย เรียกว่า Descending Colostomy

1.2.1.4.4. 4.บริเวณลำไส้ส่วนซิกมอยด์ เรียกว่า Sigmoid Colostomy

1.2.2. ผ่าตัดก้นเมื่อโตขึ้นหรือในทารกอายุ2-3 เดือนหรือน้ำหนัก 4 กิโลกรัมขึ้นไป

2. การพยาบาล

2.1. 1.พร่องความรู้ในการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมกับการเตรียมตรวจ

2.1.1. ข้อมูลสนับสนุน

2.1.1.1. S: มารดาไม่ทราบวิธีการเปลี่ยนถุง Colostomy

2.1.1.2. O:แพทย์และพยาบาลยังไม่ได้พูดหรือแนะนำอะไรให้ผู้ป่วยและมารดาทราบ เกี่ยวกับการดูแลแผล stoma

2.1.2. วัตถุประสงค์ ของการพยาบาล

2.1.2.1. เพื่อให้มารดามีคามรู้ในการดูแลบุตรอย่างถูกต้อง

2.1.3. เกณฑ์การประเมินผล

2.1.3.1. 1.มารดาสามารถอธิบายการดูแลแผลได้

2.1.3.2. 2.มารดาสามารถเปลี่ยนถุง Colostomy ได้

2.1.3.3. 3. สามารถดูแลแผล เมื่อกลับบ้านได้

2.1.3.4. 4. มารดาสามารถบอกอาการที่ควรมาพบแพทย์ได้

2.1.4. การพยาบาลและเหตุผล

2.1.4.1. 1. สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติให้เกิดความคุ้นเคยและไว้วางใจและกล้าซักถามข้อสงสัยกับพยาบาลได้และประเมินคามรู้ก่อนให้คำแนะนำ

2.1.4.2. 2. พูดคุย อธิบายมารดา เกี่ยวกับความเจ็บป่วยที่เป็นอยู่ เหตุผลในการตรวจและผ่าตัด ผลดีของการตรวจ และผลเสียของการไม่ทำการตรวจ เพื่อให้มารดาและผู้ป่วยยอมรับการตรวจและผ่าตัด และลดความกลัว วิตกกังกลเกี่ยวกับการตรวจและการผ่าตัด บอกวัน เวลา ในการผ่าตัด ตามที่แพทย์กำหนดไว้ ให้มารดาทราบ

2.1.4.3. 3. แนะนำวิธีการเตรียมตัวของผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด ให้มารดาทราบดังนี้

2.1.4.3.1. 3.1 รักษาความสะอาดร่างกาย ตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า โดยอาบน้ำทำความสะอาดร่างกายสระผม ตัดเล็บมือเล็บเท้าให้สั้น ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ เปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นชุดสำหรับใส่ผ่าตัด

2.1.4.3.2. 3.2 งดน้ำ งดอาหารทุกชนิดทางปาก ก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 8 ชั่วโมง เพื่อป้องกันการสำลัก เศษอาหารเข้าหลอดลม ขณะตรวจและผ่าตัด

2.1.4.3.3. 3.3 ให้มารดาลงลายมือชื่อในใบยินยอม เพื่อรับการตรวจ การผ่าตัด และดมยาสลบ

2.1.4.3.4. 3.4 อธิบายให้มารดาทราบขั้นตอนวิธีการตรวจและผ่าตัดอย่างคร่าว ๆ พอให้มารดาเข้าใจ พร้อมเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย ช่วยตอบข้อซักถามเพิ่มเติม

2.1.4.4. 4. อธิบายให้มารดาทราบว่าหลังผ่าตัดครั้งนี้แล้ว ควรปฏิบัติดังนี้

2.1.4.4.1. 4.1 สอนและสาธิต วิธีการดูแลแผลให้ถูกต้อง เพื่อให้มารดาสามารถทำความสะอาดแผลโดยใช้หลักปราศจากเชื้อ

2.1.4.4.2. 4.2 ผู้ป่วยจะมีแผลผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง และจะมีถุงรองรับอุจจาระที่หน้าท้อง มารดาต้องระมัดระวังเรื่องถุงรองรับอุจจาระเลื่อนหลุดขณะขยับตัวด้วย

2.1.4.4.3. 4.3 ภายหลังการผ่าตัดในระยะแรกแพทย์จะยังไม่อนุญาตให้ลุกยืนแรงๆ มารดาต้องให้นอนพักทำกิจกรรมบนเตียง และทำกิจวัตรประจำวันบนเตียง เช่น การทำความสะอาดร่างกาย ล้างหน้า แปรงฟัน การขับถ่ายอุจจาระ โดยมีพยาบาลคอยให้ความช่วยเหลือ ถ้ามารดาและผู้ป่วยทำกิจกรรมนั้นไม่ได้

2.1.4.4.4. 4.4 สอนวิธีดูแลความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณที่อับชื้นง่าย เพราะบริเวณที่อับชื้นทำให้เกิดผื่นและเกิดการติดเชื้อได้ง่าย

2.1.4.5. เกณฑ์การประเมินผล

2.1.4.5.1. มารดาของผู้ป่วยมีการพูดคุยซักถามข้อสงสัยต่างๆ และรับฟังคำอธิบายได้ดี พร้อมทั้งสามารถอธิบายเหตุผลของการเตรียมตัว เพื่อรับตรวจและการผ่าตัดได้ถูกต้อง

2.1.4.5.2. มารดาและผู้ป่วยมีสีหน้ายิ้มแย้มกว่าเดิม พร้อมที่จะได้รับการตรวจและผ่าตัด

2.1.4.5.3. สามารถดูแลบาดแผลได้อย่างถูกวิธี

2.2. 2.เสียงต่อภาวะขาดน้ำและสารอาหารเนื่องจากต้องดน้ำและอาหารทางปาก

2.3. 3. เสี่ยต่อการติดชื้อบริเวณแผลผ่าตัดเนื่องจากมีแผลเปิดของระบบทางเดินอาหาร (Anoplasty / Colostomy)

2.4. 4. ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัด

3. พยาธิสรีรวิทยา

3.1. Embryo ที่มีอายุตั้งแต่4สัปดาห์ปลายสุดของทางเดินอาหารเจริญจะร่วมกับระบบทางเดิน ปัสสาวะส่วนล่างเป็นช่องทางร่วมที่เรียก Coaca

3.2. โครงสร้างดังกล่าวถูกแยกออกโดยการเจริญของ mesenchyme มากั้นซึ่งเรียกว่า urorecta septum

3.3. เจริญเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกรวม กับท่อปัสสาวะทางด้านหน้าและ ano-rectum ทางด้านหลัง

3.4. มีการหวำตัวของ Cloaca ในแนวข้าง (Lateral folding) ส่วนปลายสุดของ coaca เดิมถูกปิดด้วย Cloacal membrane

3.5. สัปดาห์ที่ 6-8พัฒนาเป็น Urogenital plate ทางด้านหน้าและ anat Closing plate ทางด้านหลัง anal closing plate

3.6. สลายไปทำให้ rectum เชื่อมต่อกับ anus ส่วน urogenital plate

3.7. เจริญเป็น genita tubercle และอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก

3.7.1. ในเพศหญิงมดลูกและช่องคลอดส่วนบนเจริญจาก Mullerian duct ความผิดปกติของลำดับการเจริญนี้ไม่ว่าจะเป็นการเจริญของ urorectal septum หรือการสลายไปของ cloacat membrane

3.7.1.1. เกิดความผิดปกติโดยกำนิดของทวารหนักและเรดตั้ม

3.7.1.2. การเชื่อมต่อระหว่าง anorectum กับอวัยวะซึ่งอยู่ใกล้เคียงได้แก่ท่อปัสสวะหรือช่องทางคลอด

4. ระดับอาการ

4.1. Low type ระดับต่ำ

4.1.1. พบขี้เทาแตกออกที่ผิวหนัง

4.1.1.1. บริเวณที่เย็บหรือถุงอัณฑะในทารกเพศชาย

4.1.1.2. บริเวณผีเย็บในทารกเพศหญิง

4.2. intermediate type ระดับกลาง

4.3. High type ระดับสูง

4.3.1. มีขี้เทาออกหาง vagina ในทารกเพศหญิง

4.3.2. มีขี้เทาปนออกมากับปัสสาวะหรือไหลออกมาในทารกเพศชาย