บทที่ 10 การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอดโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 10 การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอดโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง by Mind Map: บทที่ 10 การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอดโดยเน้นครอบครัวเป็นศูนย์กลาง

1. การปรับตัวด้านจิตสังคมและบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด

1.1. ระยะที่มีพฤติกรรมพึ่งพา

1.1.1. ในมารดาหลังคลอดจะเสียเลือดในระหว่างคลอดทำให้ Hct ลดลงประมาณ 4%

1.1.2. คือระยะที่มารดาหลังคลอด จะมีความสนใจตนเองและต้องการพึ่งพาผู้อื่น มากกว่าจะนึกถึงบุตร

1.2. ระยะพฤติกรรมระหว่างพึ่งพาและไม่พึ่งพา

1.2.1. คือระยะที่มารดามีการปรับตัว ได้พักผ่อนเพียงพอ สนใจตนเองน้อยลงและสนใจบุตรมากขึ้นและจะพึ่งพาตนเองมากขึ้น

1.3. ระยะพฤติกรรมพึ่งพาตนเอง

1.3.1. คือระยะที่มารดาสามารถทำหน้าที่ พัฒนกิจของการเป็นมารดาได้มากแล้ว จะเข้าสู่ระยะการพึ่งพาตนเอง

1.4. บทบาทการเป็นมารดา

1.4.1. การปรับตัวเข้าสู่บทบาทใหม่

1.4.2. การสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว

1.4.3. การจัดแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว

1.4.4. การวางแผนครอบครัว

2. การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา ทารก และบิดาภายหลังคลอด

2.1. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทำหน้าที่ในบทบาทบิดาและมารดา

2.2. เปิดโอกาสให้สามีมีส่วนร่วมในการดูแลบุตรและภรรยาหลังคลอด

2.3. อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายและจิตใจหลังคลอด

2.4. ให้คำปรึกษาในด้านการมีเพศสัมพันธืหลังคลอด

3. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และการแก้ไขปัญหา

3.1. ความหมาย

3.1.1. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว

3.1.1.1. ให้ลูกกินนมแม่อย่างเดียว

3.1.2. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ส่วนใหญ่

3.1.2.1. ให้นมแม่และน้ำจำนวนน้อย

3.1.3. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่บางส่วน

3.1.3.1. การให้นม นมผสม หรืออาหารอื่น

3.1.4. การเลี่้ยงลูกด้วยนมผสม

3.1.4.1. ให้ลูกกินนมผสมอย่างเดียว

3.2. กายวิภาคและกลไกการหลั่งน้ำนม

3.2.1. Anterior lobe ของ Pituitary gland หลั่ง Prolactin กระตุ้น Alveolar cells ให้สร้างน้ำนม

3.2.2. Posterior lobe ของ Pituitary gland หลั่ง Oxytocin กระตุ้น Myoepithelial cells ให้หดตัวบีบน้ำนมให้ไหลออกมาจากเต้านม

3.3. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

3.3.1. อายุ

3.3.2. ประสบการณ์ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

3.3.3. วิธีการคลอด

3.3.4. ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

3.3.5. ทัศนคติของมารดา

3.3.6. ความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

3.3.7. การสนับสนุนของครอบครัว

3.3.8. การสนับสนุนของบุคลากรทางสุขภาพ

3.4. บันได 10 ขั้นสู่ความสำเร็จ

3.4.1. มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นลายลักษณ์อักษร

3.4.2. ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ให้มีทักษะในการนำนโยบายไปปฏิบัติ

3.4.3. ชี้แจงให้มารดาทราบถึงประโยชนืในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

3.4.4. ให้ลูกดูดนมแม่ภายในครึ่งชั่วโมงหลังคลอด

3.4.5. สอนให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

3.4.6. อย่าให้อาหารอื่นแก่ทารกแรกเกิดนอกจากนมแม่

3.4.7. ให้แม่และลูกอยู่ด้วยกันตลอด 24 ช.ม.

3.4.8. สนับสนุนให้ลูกดื่มนมแม่ได้ตามต้องการ

3.4.9. อย่าให้ลูกดูดหัวนมปลอมหรือหัวนมยาง

3.4.10. ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

3.5. บทบาทพยาบาล

3.5.1. บอกประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

3.5.2. ให้ความรู้เกี่ยวกับการหลั่งน้ำนม

3.5.3. แนะนำการมาฝากครรถ์ตามนัด

3.5.4. แนะนำการรับประทานอาหารที่เหมาะสม

3.5.5. การตรวจเต้านมและการแก้ไขหัวนมแบนหรือบอด

3.5.6. สนับสนุนให้สามีมีส่วนร่วมในการเลี้ยงลูก

3.5.7. สอนการเลี้ยงลูกด่วยนมแม่

3.6. ปัญหาที่พบบ่อย

3.6.1. เต้านมคัด

3.6.2. หัวนมเจ็บและแตกเป็นแผล

3.6.3. ท่อน้ำนมอุดตันและเต้านมอักเสบ

3.6.4. น้ำนมน้อย

3.7. การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน

3.7.1. ตอนเช้าให้นมลูก 2 มื้อ เมื่อตื่นนอนและก่อนไปทำงาน

3.7.2. ในขณะที่ทำงานให้ คนเลี้ยงป้อนนมแม่ที่บีบไว้ 2-3 มื้อ ให้แม่บีบนมเก็บไว้ให้ลูกและแช่ไว้ในตู้เย็น

3.7.3. เมื่อกลับจากทำงาน ให้นมลูก ตอนเย็นและตอนกลางคืน

4. การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาของมารดาหลังคลอด

4.1. การเปลี่ยนแปลงของระบบสืบพันธุ์

4.1.1. มดลูก จะมีการเข้าอู่และหดรัดตัวเข้าสู่สภาพเดิมของมดลูก

4.1.1.1. จะมีการเข้าอู่และหดรัดตัวเข้าสู่สภาพเดิมของมดลูก

4.1.1.1.1. มดลูกขาดเลือดไปเลี้ยง

4.1.1.1.2. การย่อยตัวเองของมดลูก

4.1.2. น้ำคาวปลา

4.1.2.1. ช่วง 3 วันแรกหลังคลอด จะมีสีแดงเข้ม เรียกว่า Lochia rubra

4.1.2.2. วันที่ 4-9 จากสีแดงเข้มกลายเป็นสีแดงจางๆ เรียกว่า Lochia serosa

4.1.2.3. วันที่ 10-14 น้ำคาวปลาจะเป็นสีขาว เรียกว่า Lochia alba

4.1.3. ปากมดลูก

4.1.3.1. หลังคลอดทันทีจะมีลักษณะนุ่ม แต่หลังคลอด 1 สัปดาห์ ปากมดลูกจะค่อยๆปิดและแข็งเป็นรูปร่างมากขึ้น

4.1.4. ช่องคลอด

4.1.4.1. หลังคลอดเยื่อพรหมจารี มีการฉีกขาดถาวรเป็นติ่ง เรียกว่า Carunculae myrtiformes

4.1.5. ฝีเย็บ

4.1.5.1. หลังคลอดจะมีอาการปวดฝีเย็บและจะหายเป็นปกติได้ใน 5-7 วัน

4.2. การเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ

4.2.1. ระบบฮอร์โมน

4.2.1.1. หลังคลอดระดับฮอร์โมนจากรกจะลดลงอย่างรวดเร็วใน 24 ช.ม. ตรวจไม่พบ HPL HCS HCG

4.2.1.2. ระดับ Prolactin จะสูงขึ้นในมารดาที่เลี้ยงบุตรด้วยน้ำนม

4.2.2. ระบบทางเดินปัสสาวะ

4.2.2.1. หลังคลอดกระเพาะปัสสาวะจะเป็น ความไไวต่อแรงกดลดลง ทำให้ถ่ายปัสสาวะลำบาก

4.2.3. ระบบการไหลเวียนโลหิต

4.2.4. ระบบทางเดินอาหาร

4.2.4.1. หลังคลอดระบบทางเดินอาหารจะกลับสู่สภาพปกติน้อยลง จากผล Progesterone ยังมีอยู่ใน 1 สัปดาห์หลังคลอด

4.2.5. ระบบผิวหนัง

4.2.5.1. ผิวหนังจากที่มีสีเข้มขึ้นในขณะตั้งครรถ์จะจางลง และมีรอยแตกบนหน้าท้องของมารดา

4.2.6. การหลั่งน้ำนม

4.2.6.1. เต้านมจะถูกกระตุ้นให้เจริญเติบโตขึ้นพร้อมสร้างและหลั่งน้ำนม

4.2.7. การตกไข่และการมีประจำเดือน

4.2.7.1. มารดาหลังคลอดจะมีประจำเดือนแบบไม่มีการตกไข่

5. การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด

5.1. Postpartum Assessments: BUBBLE HE

5.1.1. Breast

5.1.1.1. ลักษณะของเต้านม

5.1.1.2. ขนาดของเต้านม

5.1.1.3. ขนาดของยกทรง

5.1.2. Uterus

5.1.2.1. การหดรัดตัวของมดลูก

5.1.2.2. ตำแหน่งของมดลูก

5.1.2.3. ระดับของยอดมดลูก

5.1.2.4. อาการปวดมดลูก

5.1.3. Bowel elimination

5.1.3.1. การเคลื่อนไหวของลำไส้

5.1.3.2. การขับถ่าย

5.1.4. Bladder

5.1.4.1. ลักษณะของกระเพาะปัสสาวะ

5.1.5. Lochia

5.1.5.1. จำนวนน้ำคาวปลา

5.1.5.2. สี

5.1.6. Episiotomy

5.1.6.1. ลักษณะของฝีเย็บ

5.1.6.2. สิ่งคัดหลั่ง

5.1.6.3. ลักษณะของแผล

5.1.7. Homans'sign

5.1.7.1. ประเมินหลอดเลือดดำอักเสบบโดยให้เหยียดขาและดันปลายเท้าเข้าหาลำตัว ถ้าปวด คือ Homans' sign positive

5.1.8. Emotional status

5.1.8.1. ประเมินจิตใจอารมณ์และการปรับตัว

5.2. การดูแลมารดาในระยะ 24 ช.ม.แรกหลังคลอด

5.2.1. ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ

5.2.2. ส่งเสริมความสุขสบายและบรรเทาอาการเจ็บปวด

5.2.3. ส่งเสริมการลุกจากเตียงเร็ว

5.2.4. ส่งเสริมภาวะโภชนาการและการขับถ่าย

5.2.5. ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของมารดาและสัมพันธภาพ

5.3. การดูแลมารดาในระยะหลัง 24 ช.ม.หลังคลอด

5.3.1. ส่งเสริมการบริหารร่างกาย

5.3.2. ส่งเสริมความสำเร็จในการให้นมบุตร

5.3.3. ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีและสัมพันธภาพ

5.4. การดูแลมารดาก่อนจำหน่ายออกจากรพ.

5.4.1. ให้คำแนะนำในการพักผ่อนและการทำงาน

5.4.2. ให้คำแนะนำการรับอาหาร

5.4.3. ส่งเสริมการบริหารร่างกาย

5.4.4. ให้คำแนะการในการร่วมเพศ

5.4.5. การมาตรวจตามนัด

5.4.6. ให้คำแนะนำสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมารพ.