Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Acute Glomerulonephritis by Mind Map: Acute Glomerulonephritis

1. ภาวะแทรกซ้อน

1.1. Hypertensive encephalopathy

1.2. Acute cardiac decompensation

1.3. Acute renal failure

2. ข้อวินิฉัยทางการพยาบาล

2.1. ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 1 ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดอาการชักจากการมีความดันโลหิตสูง เนื่องจากการเพิ่มปริมาตรของน้ำและเกลือในร่างกาย และจากการไหลเวียนของ GFR ลดลง ทำให้เกิด total peripheral resistance เพิ่มขึ้น

2.1.1. กิจกรรมการพยาบาล

2.1.1.1. 1. จัดให้ผู้ป่วยพักนอนในบริเวณที่ใกล้กับเคาเตอร์พยาบาล

2.1.1.2. 2. จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบ สงบ เพื่อให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเต็มที่

2.1.1.3. 3.เฝ้าระวังอาการชักโดยการสังเกตอาการเตือน

2.1.1.4. 4. จำกัดกิจกรรม การเคลื่อนไหว หรือการออกกำลัง

2.1.1.5. 5. ดูแลเรื่องการได้รับยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา

2.1.1.6. 6. ดูแลให้อาหารโปรตีนต่ำและรสจืด

2.1.1.7. 7. จัดหาของเล่น หรือกิจกรรมการเล่นที่ไม่ต้องใช้กำลังมาก และเหมาะสมกับวัย

2.1.1.8. 8. สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงและสัญญาณชีพ พร้อมบันทึกลงในรายงานผู้ป่วยทุก 4 ชม.

2.1.1.9. 9. reccord I/O เพื่อประเมินภาวะน้ำเกินในระบบไหลเวียน

2.1.1.10. 10. รายงานอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยให้แพทย์ทราบ

2.2. ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 2 ผู้ป่วยมีการคั่งของน้ำ เกลือ และของเสียในร่างกาย

2.2.1. กิจกรรมการพยาบาล

2.2.1.1. 1.จำกัดน้ำดื่มวันละ 1000 ml

2.2.1.2. 2. ดูแลให้รับประทานอาหารที่จากัดเกลือ

2.2.1.3. 3.การดูแลให้ยาขับปัสสาวะเพื่อแก้ไขอาการบวม

2.2.1.4. 4. ดูแลให้รับประทานอาหารประเภทโปรตีนต่ำ เพื่อลดของเสียของโปรตีน

2.2.1.5. 5. ชั่งน้ำหนักตัวเพื่อประเมินภาวะบวมทุกวัน

2.2.1.6. 6. reccord I/O เพื่อทราบความสมดุลของน้ำที่ร่างกายได้รับและ ถ่ายออก

2.2.1.7. 7.ติดตามผลการตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการ

3. กรณีศึกษาที่ 2 เด็กอายุ 5 ปีมาโรงพยาบาลด้วยอาการปวดศีรษะ บวมที่หนังตาและขา ปัสสาวะออกน้อย สีเข้ม ให้ประวัติเมื่อ 3 สัปดาห์ก่อนเป็นไข้เจ็บคอ แม่ให้กินยาลดไข้อาการดีขึ้น แรกรับตรวจร่างกาย น้ำหนัก 20 กก. สูง 110 เชนติเมตร T=373%, P= 80ครั้ง/นาที, R= 40 ครั้ง/นาที, BP = 150/100 mmHg ตรวจทางห้องปฏิบัติการ U/A red-brown color , sp.gr. 1.015, pH 5, WBC 3-5/HPF, RBC numerous/HPF, BUN = 60 mg/dl Cr. 0.7 mg/dl หลังรับไว้ในโรงพยาบาลแพทย์ให้ Bed rest,Furosemide 20 mg v stat , Hydralazine 6 mg. q 6 hr. Penicillin V 250 mg. กินทุก6 ชั่วโมงนาน 10 วัน , low salt diet จำกัดน้ำดื่มวันละ 1,000 ml. และ Record VO

4. หลักการพยาบาล

4.1. 1.ป้องกันหรือควมคุมการติดเชื้อ

4.2. 2.ป้องกัน หรือควบคุมอาการบวม

4.3. 3. ป้องกันภาวะHyperkalemia

4.4. 4. ลดความดันโลหิต

4.5. 5. สังเกตการณ์เกิดภาวะแทรกซ้อน

4.6. 6.เสริมสร้างความแข็งแรงและส่งเสริมการเจริญเดิบโตและพัฒนาการของร่างกาย

4.7. 7.อำนวยความสุขสบายของร่างกาย

4.8. 8.ประคับประคองด้านจิตใจแก่ผู้ป่วยและครอบครัว

4.9. 9. เตรียมตัวผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองที่บ้าน

5. คำแนะนำการใช้ยาอย่างปลอดภัยและสมเหตุผล

5.1. 1.ใช้ยาเมื่อมีความจำเป็น

5.2. 2.พาราเซตามอล ปกติรับประทานวันละไม่เกิน 4 กรัม รับประทานติดต่อกันไม่เกิน 5 วัน

5.3. 3. ไม่สบายไม่ต้องฉีดยา

5.4. 4. ห้ามหยุดยาเอง หรือปรับยาเอง

5.5. 5. เมื่อมีอาการท้องเสีย เจ็บคอ ไม่จำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะ

5.6. ยาที่ควรระวัง

5.6.1. ยาแก้ปวดลดอักเสบNSAIDs เช่น ibuprofen, mefenamic acid, naproxen, piroxicam, meloxicam, diclofenac, celecoxib, etoricoxib เป็นต้น ยามีผลทำให้เลือดไปเลี้ยงไตลดลง ผู้ป่วยโรคไตไม่ควรใช้ยากลุ่มนี้

5.6.2. ยาระบายหรือยาลดกรดที่มีอะลูมิเนียมและแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดการสะสมของเกลือแร่ในร่างกาย เนื่องจากไตไม่สามารถนำเอาเกลือแร่เหล่านี้ออกจากร่างกายได้ตามปกติ

5.6.3. ยาระบายหรือยาสวนทวาร ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและเกิดการสะสมของฟอสเฟต

5.6.4. อาหารเสริมต่างๆ/ยาฉีดผิวขาว มักมีส่วนประกอบของโพแทสเซียมและแมกนีเซียมซึ่งทำให้เกิดการสะสมในร่างกายได้

5.6.5. สมุนไพร เช่น สารสกัดใบแปะก๊วย (Ginko biloba) โสม (ginseng) กระเทียม (garlic) ส่งผลต่อการแข็งตัวของเลือด อาจทำให้เกิดเลือดออกบริเวณเส้นเลือดที่ต่อกับเครื่องฟอกเลือดได้ง่าย

5.7. **ก่อนใช้ยาควรปรึกษาแพทย์ก่อนนะคะ**

6. พยาธิสรีรภาพ

6.1. เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีหลังจากนั้นอีกระยะหนึ่งจะเกิด Antigen-antibody complex หรือ Immune-complex reaction ทำ ให้หลอดเลือดฝอยใน Glomeular ถูกทำลาย โดยสาระสำคัญสองชนิดคือ lysozymeและ Anaphylatoxin ผลที่เกิดตามมาคือการกรองของเสียและการดูดซึมกลับ ไม่เป็นไปตามปกติเกิดอาการคั่งของน้ำและของเสีย เช่น BUN ทำให้ความดันโลหิตสูง

7. อาการทางคลินิก

7.1. 1.การปนเปื้อนของเซลล์เม็ดเลือดแดงในน้ำปัสสาวะ (Hematuna) จนกลายเป็นสีชมพู หรือสีโคล่า

7.2. 2.เกิดอาการบวมน้ำที่บริเวณใบหน้า มือ เท้า หรือท้อง

7.3. 3.มีความดันเลือดสูง

7.4. 4.ปัสสาวะเป็นฟองเนื้องจากโปรตีนส่วนเกินปนออกมาในปัสสาวะ

7.5. 5.อาการก็ปรากฎตามร่างกาย เช่น ไข้ ปวดศรีษะ อ่อนล้า เหนื่อย เพลีย ปวดข้อ เป็นผื่นคันหรือมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ

8. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

8.1. การตรวจปัสสาวะ

8.1.1. ระดับ PH เป็นกรด

8.1.2. โปรตีนไม่เกิน +3

8.1.3. พบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว

8.1.4. ความถ่วงจำเพาะเกิน 1.020

8.2. การตรวจเลือด

8.2.1. ระดับ Na+, K+ ,CI-,CO2CP ปกติหรือสูง

8.2.2. ระดับ BUN ครีเอดินิน ESR และกรดยูริคสูง

8.2.3. ASO อาจสูงถึง 200 Todd units หรือมากกว่านั้น

9. สาเหตุ

9.1. เกิดขึ้นตามหลังการติดเชื้ออื่นๆของร่างกายที่พบบ่อยคือ Pharyngitis จาn - Streptococcus gr. A (Post-streptococcal glomerulonephritis)

9.2. หรือการติดเชื้อจากผิวหนัง

9.3. และการติดเชื้ออื่นๆในเด็กจะพบได้บ่อยคือ Acutepost-streptococoal glomerulonephritis

10. น.ส.มัลลิกา วงศ์ศรี รหัส 611901085 เลขที่ 81