บทที่ 7 โครงข้อหมุนไม้

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 7 โครงข้อหมุนไม้ by Mind Map: บทที่ 7 โครงข้อหมุนไม้

1. โครงข้อหมุน

1.1. โครงสร้างที่ประกอบขึ้นจากท่อนหรือแท่งของวัสดุก่อสร้าง

1.1.1. ประเภทโครงชัน

1.1.2. ประเภทโครงแบน

1.1.3. ประเภทโครงโค้ง

1.2. ขิ้นส่วนต่างๆของข้อหมุนต่างๆ

1.2.1. จันทัน

1.2.2. ขื่อ

1.2.3. เวบ

1.2.4. จุดต่อช่วง

1.3. โครงหลังคา

1.4. โครงสะพาน

2. โครงหลังคาไม้

2.1. ประเภทโครงชัน

2.1.1. ระยะห่างระหว่างจุดต่อช่วง 1.5-3 เมตร

2.1.2. ใช้ไม้หนา 2''- 4''

2.1.3. ความสูงโครง : ความยาวของโครง = 1:5 ถึง 1:6

2.2. ประเภทโครงแบน

2.2.1. ระยะห่างระหว่างจุดต่อช่วง 1.5-3 เมตร

2.2.2. ใช้ไม้หนา 2''- 4''

2.2.3. ความสูงโครง : ความยาวของโครง = 1:7 ถึง 1:10

2.3. ประเภทโครงโค้ง

2.3.1. ระยะห่างระหว่างจุดต่อช่วง 2-3.5 เมตร

2.3.2. ความสูงโครง : ความยาวของโครง = 1:6 ถึง 1:8

2.3.3. ความยาวโครงมีค่าอยู่ระหว่าง 10-35 เมตร

3. ขั้นตอนการออกแบบ

3.1. 1.หาน้ำหนักบรรทุกใช้งาน

3.2. 2.วิเคราะห์หาแรงภายในชิ้นส่วนต่างๆภายใต้การกระทำของน้ำหนักบรรทุกต่างๆ

3.3. หาหน่วยแรงต่างๆที่ยอมให้ของไม้ที่จะใช้

3.4. 4.คำนวณหาขนาดของไม้ที่จะใช้ในแต่ละส่วน

3.5. ออกแบบรอยต่อที่จุดต่อช่วงและการต่อไม้

4. การโก่งตัว

4.1. ใช้วิธืของ Williot-Mohr Diagram

4.1.1. DL ให้ใช้ค่าเป็นสองเท่าของค่าที่คำนวณได้ (ไม้ที่ผึ่งแห้งแล้ว)

4.1.2. DL ให้ใช้ค่าเป็นสามเท่าของค่าที่คำนวณได้ (ไม้ที่ยังมิได้ผึ่งแห้งแล้ว)

5. การยกโครงให้โค้งขึ้น

5.1. โครงชัน

5.1.1. ควรยกคอร์ดล่างขึ้นไปประมาณ 1/2'' ต่อช่วงความยาว 10 ฟุต

5.1.2. ควรยกคอร์ดที่กึ่งกลางของครึ่งความยาวขึ้นไปประมาณ 3/8'' ต่อช่วงความยาว 10 ฟุต

5.2. โครงแบน

5.2.1. ควรยกทั้งคอร์ดบนและล่างขึ้นไปประมาณ 1/2'' ต่อช่วงความยาว 10 ฟุต

5.3. โครงโค้ง

5.3.1. ควรยกคอร์ดล่างขึ้นไปประมาณ 3/8''-1/2'' ต่อช่วงความยาว 10 ฟุต

6. การค้ำยันและการยึดโยงโครง