Unstable Bradycardia

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Unstable Bradycardia by Mind Map: Unstable Bradycardia

1. สาเหตุ

1.1. --> hypoxemia (most common) แล้วไล่สาเหตุลงไป secretion obstruction, airway, lungs, pleura

1.2. --> ยา ที่กด SA, AV node อาจจะกินขนาดเดิมมานาน แต่มีอะไรรึเปล่าที่ทำให้ระดับยาสูงขึ้น

1.3. --> electrolytes (K, Mg, Ca)

2. กรณีศึกษา หญิง 71ปี หมดสติ หายใจเป่าปาก

2.1. มีภาวะ Hypoxemia -> O2sat 82%RA

2.2. GCS :E1V1M1 เหงื่อออกตัวเย็น

2.3. ยาโรคประจำตัว

2.3.1. Glipizide(5) 1x1 oral ac

2.3.2. Amlodipine(5) 1x1 oral pc

2.3.3. Alprazolam(0.5) 1x1 oral hs

2.3.4. Propranolo(10) 1x2 oral pc

2.3.5. Simvastatin (20) 1x1 oral hs

2.3.6. ASA(81) 1x1 oral pc

2.3.7. MFM(500)

2.4. โรคประจำตัว

2.4.1. DM

2.4.2. HT

2.4.3. DLP

2.4.4. Anxiety

3. Clinical Dx.

3.1. EKG 12 lead : Bradycardia rate 27 bpm

3.2. V/S

3.2.1. BT :36.2 c

3.2.2. PR :27 bpm

3.2.3. RR : 10 bpm

3.2.4. BP : 86/57 mmHg

3.2.5. O

3.2.5.1. O2sat 82%RA

3.3. GCS :E1V1M1 เหงื่อออกตัวเย็น

4. การรักษา

4.1. 1. Obs.อาการและอาการแสดง

4.2. 2.Obs.V/S

4.3. 3.EKG 12 lead

4.4. 4.Monitor EKG

4.5. 5.Atropine 0.6 mg IV x II dose

4.6. 6.Externa pacing fixed mode ตั้ง HR 60 bpm Output 100 mAh

4.7. 7. Load NSS 300 ml then 80 cc/hr

5. ความหมาย

5.1. คือภาวะที่คลื่นหัวใจเหมือน normal sinus แต่มีอัตราการเต้นต่ำกว่า 60 ครั้ง/นาที ถ้าช้ากว่า 40 bpm มักมีอาการความดันต่ำร่วมด้วยหรือมีอาการหน้ามืดได้ ซึ่งถือว่าเป็นกรณีเร่งด่วน (unstable) ต้องช่วยอย่างเร่งด่วนเพื่อช่วยเพิ่มอัตาการเต้นของหัวใจ เช่นฉีด Atropine หรือใช้ isoproterenal หยอดเข้าหลอดเลือดดำในกรณีเร่งด่วนที่รักษาด้วยยาไม่ได้ผลอาจต้องใช้เครื่องมือกระตุ้นหัวใจ (Pace maker ) ซึ่งเป็นกรณีที่เกิดขึ้นไม่บ่อยนัก

6. ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล

6.1. 1.มีภาวะพร่องO2

6.1.1. ข้อมูลสนับสนุน

6.1.1.1. S : ญาติแจ้ง “07:30น.พบผู้ป่วยนอนซึม เรียกไม่รู้สึกตัว หายใจเป่าปาก มีเสียงครืดคราด มีอุจจาระราด ไม่ทราบประวัติชักเกร็ง”

6.1.1.2. O : GCS =E1V1M1 pupils Rt.3RTL/ Lt.Pterigium RR 10 bpm O2sat 82%Ra DTX 183 mg%

6.1.2. การพยาบาล

6.1.2.1. 1. ประเมินอาการและอาการแสดงแรกรับ

6.1.2.2. 2. ประเมินสัญญาณชีพ

6.1.2.3. 3. Suction clear airway

6.1.2.4. 4. เปิดทางเดินหายใจ On oropharyngeal airway และช่วยหายใจโดยใช้ BMV

6.1.2.5. 5. On ET Tube No. 7.5 depth 21

6.1.2.6. 6. Monitor ETCO2 / O2sat

6.1.3. การประเมินผล

6.1.3.1. หลัง On ET Tube -> GCS:E3VTM1 O2sat 100% ETCO2 = 28 mmHg

6.2. 2. มีภาวะ bradycardia

6.2.1. ข้อมูลสนับสนุน

6.2.1.1. O : PR 58 bpm monitor EKG : HR 27 bpm EKG 12 lead : bradycardia rate 27 bpm

6.2.2. การพยาบาล

6.2.2.1. 1. ทำ EKG 12lead

6.2.2.2. 2. Monitor EKG

6.2.2.3. 3. ดูแลให้ atropine 0.6 mg IV x II dose ตามแผนการรักษาของแพทย์

6.2.2.4. 4. ติด External pacing (Fixed mode) ตั้ง HR 60 bpm / Output 100 mAh ตามแผนการรักษาของแพทย์

6.2.2.5. 5. คลำ Pluse บริเวณ femoral pluse หลังจากการตั้งpacing ได้เหมาะสมเพื่อดูว่า Pluse ของผู้ป่วยเต้นตามที่เครื่องกระตุ้น

6.2.2.6. 6. Monitor HR และ Clinical ผู้ป่วยต่อ

6.2.3. การประเมินผล

6.2.3.1. หลังได้ atropine 0.6 mg x II dose -> HR 28 – 30 bpm หลังติด pacing ตั้ง HR 60 bpm / Output 100 mAh คลำชีพจรบริเวณ femoral ของผู้ป่วยเต้นตามที่เครื่องกระตุ้น 60 ครั้ง

6.3. 3. มีภาวะ cardiogenic shock

6.3.1. ข้อมูลสนับสนุน

6.3.1.1. O : V/s BT:36.2 c /PR :27 bpm /RR : T /BP:86/54 mmHg GCS : E1VTM1 มีเหงื่อออกตัวเย็น

6.3.2. การพยาบาล

6.3.2.1. 1. ประเมินอาการและอาการแสดงแรกรับ

6.3.2.2. 2. ประเมินสัญญาณชีพ

6.3.2.3. 3. Load NSS 300 ml then 80 cc/hr ตามแผนการรักษาของแพทย์

6.3.2.4. 4. On norepinephrine (4:250) IV 5 cc/hr titrate keep MAP >= 65

6.3.3. การประเมินผล

6.3.3.1. หลัง Load NSS 300 ml + On norepinephrine (4:250) IV 5 cc/hr -> BP86/37 (45) titrate norepinephrine (4:250) IV 10 cc/hr -> BP 86/43(58) titrate norepinephrine (4:250) IV 20 cc/hr -> BP86/54(65) คง rate norepinephrine (4:250) IV 20 cc/hr ก่อนadmit-> BP94/52(67)