รูปแบบของการประกอบธุรกิจ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
รูปแบบของการประกอบธุรกิจ by Mind Map: รูปแบบของการประกอบธุรกิจ

1. บริษัท

1.1. บริษัทจำกัด

1.1.1. เป็นธุรกิจที่มีการร่วมลงทุนของบุคคลตั้งแต่7คนขึันไป อาจจะรู้จักหรือไม่รู้จักกันเลยก็ได้ แต่มีวัตถุประสงคืร่สมกันเพื่อประกอบธุรกิจการค้าอย่างใดอย่างหนึ่ง มีผู้เชี่ยวชาญมาประกอบกิจการ จ้างผู้มีความสามารถ ระดมทุนกันมาก ผู้ถือหุ้นรับผิดชอบเพียงค่าหุ้นที่ตนซื้อ

1.2. บริษัทมหาชน

1.2.1. คือบรืษัทที่มีวัตถุประสงค์ที่เสนอขายหุ้นให้ประชาชนทั่วไปแบ่งทุนเป้นหุ้นละเท่าๆกัน ผุ้ถือหุ้นรับผิดชอบไม่เกินจำนวนเงินค่าหุ้นที่ต้องชำระมีความแตกต่างจากบริษัทมหาชนตรงที่มีขนาดใหญ่ต้แงใช้ทุนมาก

2. กิจการร่วมค้า

2.1. เป็นความร่วมมือระหว่างบริษัทกับบริษัท

2.2. ผู้ร่วมลงทุนจะต้องร่วมกันรับผิดชอบในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ

2.3. กิจการร่วมค้ามักมีลักษณะความร่วมมือชั่วคราว

2.4. การถอนตัวออกจากกิจการร่วมค้าจะกระทำได้เมื่อผุ้ร่วมกิจการยินยอม

2.5. หากผู้ร่วมกิจการร่วมค้าคนใดคนหนึ่งเสียชีวิต

3. กองทุนธุรกิจ

3.1. เป็นธุรกิจที่ประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย

3.2. ผู้นำทรัพย์สินมาลงทุนจะรับผิดชอบจำกัดเฉพาะทรัพย์สินที่นำมาลงทุนเท่านั้น

3.3. ผู้นำทรัพย์สินมาลงทุนไม่มีสิทธิในการดำเนินการธุรกิจ

3.4. ผู้ประกอบการอาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

3.5. มีความมั่นคงปลอดภัยในการลงทุน

4. สหกรณ์

4.1. การจัดตั้งองค์กรธุรกิจโดยรวมตัวกันของบุคคลที่มีความสนใจหรือความต้องการที่เหมือนกันเพื่อจัดตั้งองค์กรขึ้นทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของกลุ่มไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบ เน้นการอยู่ร่วมกันแบบประชาธิปไตย

5. ธุรกิจเจ้าของคนเดียว

5.1. เป็นรูปแบบการประกอบธุรกิจที่มีผู้ดำเนินการมากที่สุดและอายุเก่าแก่ที่สุด

5.1.1. ร้านโชวห่วย

5.1.2. หาบเร่

5.1.3. แผงลอย

5.1.4. ร้านสินค้าสะดวกซื้อ

5.1.5. ร้านสินค้าเฉพาะอย่าง

5.2. ข้อดีของธุรกิจเจ้าของคนเดียว

5.2.1. 1.เป้นธุรกิจที่ตั้งได้ง่าย

5.2.2. 2.ใช้ทุนในการดำเนินการน้อย

5.2.3. 3.มีอิสระในการดำเนินธุรกิจ

5.2.4. 4.ได้รับผลประโยชน์จากการประกอบธุรกิจอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย

5.2.5. 5.บริหารจัดการกิจการได้อย่างคล่องตัว

5.2.6. 6.เลิกล้มกิจการได้สะดวก

5.3. ข้อเสียของธุรกิจเจ้าของคนเดียว

5.3.1. 1.ขาดความต่อเนื่องในการดำเนินธุรกิจ

5.3.2. 2.ถูกจำกัดในเรื่องเงินทุน

5.3.3. 3.ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นเพียงลำพัง

5.3.4. 4.ขาดคู่คิด

5.3.5. 5.ขยายธุรกิจได้ยาก

6. ห้างหุ้นส่วน

6.1. เป็นรูปแบบการดำเนินธุรกิจตั้งแต่2คนขึ้นไปตกลงใจที่จะร่วมทุนเป็นหุ้นส่วนซึ่งกันและกัน

6.1.1. 1.ห้างหุ้นส่วยสามัญ

6.1.1.1. เป็นธุรกิจที่มีบุคคลตั้งแต่2คนขึ้นไป

6.1.1.2. ไม่ต้องจดทะเบียนกับนายทะเบียน

6.1.1.3. หุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดชอบหนี้สินที่เกิดขึ้นร่วมกัน

6.1.1.4. หุ้นส่วนทุกคนต้องนำเงิน ทรัพย์สิน แรงงานมาลงทุน

6.1.1.5. การดำเนินการอาจมอบหมายให้หุ้นส่วนผู้ใดผู้หนึ่งเป็น ''หุ้นส่วนผู้จัดการ''

6.1.1.6. การเรียกชื่ออาจเรียกฃื่อที่ตั้งเอาไว้โดยไม่ต้องมีคำว่าห้าวหุ้นส่วนหรือมีก็ได้

6.1.2. 2.ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล

6.1.2.1. เป็นรูปแบบการประกอบธุรกิจซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนสามัญทุกประการ แต่มีการจดทะเบียนกับนายทะเบียน ทำให้มีสถานภาพเป็นนิติบุคคลไม่ใช่บุคคลธรรมดา

6.1.3. 3.ห้างหุ้นส่วนจำกัด

6.1.3.1. หุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดชอบ

6.1.3.1.1. หมายถึงผู้ถือหุ้นจะรับผิดชอบเแพาะหนี้สินที่นำมาลงทุนเท่านั้น และเป็นได้เพียงผู้ถือหุ้นเท่านั้น การลงทุนต้องเป็นหุ้นที่เป้นเงินสดเท่านั้น

6.1.3.2. หุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดชอบ

6.1.3.2.1. หมายถึงหุ้นส่วนที่จะต้องรับผิดชอบจากการประกอบธุรกิจดดยไม่จำกัดจำนวน

6.1.4. การยกเลิกการประกอบธุรกิจห้างหุ้นส่วน

6.1.4.1. 1.ยกเลิกตามเงื่อนไขเวลาที่กำหนดไว้ในสัญญา

6.1.4.2. 2.ยกเลิกตามเงื่อนไขอื่นๆ ที่กำหนดไว้ในสัญญา เช่นการกำหนดเกี่ยวกับการ ขาดทุน

6.1.4.3. 3.ยกเลิกเมื่อหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตาย ล้มละลาย หรือตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ

7. โฮลดิ้งคอมพานี

7.1. บริษัทที่เข้าไปควบคุมนโยบายของบรษัทในเครือโดยการซื้อหุ้นเพื่อให้ตนเองเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่เรียกว่า บริษัทแม่

7.2. บริษัทที่ขายหุ้นให้กับบริษัทอื่นเกินกว่าร้อยละ50จึงถูกควบคุมในด้านนโยบายและการบริหารจัดการเรียกว่า บริษัทในเครือ

7.3. เป็นลักษณะการขยายธุรกิจของบริษัทแม่เพื่อให้มีเครือข่ายของธุรกิจที่กว้างขวางและควบคุม

8. รัฐวิสาหกิจ

8.1. การประกอบกิจการหรือธุรกิจที่รัฐบาลเข้าไปดำเนินการเอง โดยเป็นเจ้าของกิจการนั้นทั้งหมดหรือเป็นเพียงบางส่วนที่เป็นส่วนใหญ่คือมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินร้อยละ50หรือเกินกว่าครึ่งของทุนทั้งหมดของกิจการนั้น

8.2. จุดประสงค์ของการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ

8.2.1. 1.เพื่อควบคุมดูแลกิจการที่มีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน

8.2.2. 2.เพื่อหารายได้ให้รัฐบบาล

8.2.3. 3.เพื่อรักษาความมั่นคงปลอด๓ัยในประเทศ

8.2.4. 4.เพื่อป้องกันการถูกเอารัดเอาเปรียบ