รูปแบบของการประกอบธุรกิจ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
รูปแบบของการประกอบธุรกิจ by Mind Map: รูปแบบของการประกอบธุรกิจ

1. การประกอบธุรกิจที่ที่ตั้งแต่บุคคล 2 คนขึ้นไปมาร่วมลงทุนเป็นหุ้นส่วนทำกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยกัน

2. รูปแบบการประกอบธุรกิจ

2.1. ธุรกิจเจ้าของคนเดียว

2.2. ห้างหุ้นส่วน

2.3. บริษัท

2.4. กิจการร่วมค้า

2.5. กองทุนธุรกิจ

2.6. โฮลดิ้งคอมพานี

2.7. สหกรณ์

2.8. รัฐวิสาหกิจ

3. ธุกิจเจ้าของคนเดียว

3.1. ร้านโชวห่วย

3.2. หาบเร่

3.3. แผงลอย

3.4. ร้านสินค้าสะดวกซื้อ

3.5. ร้านสินค้าเฉพาะอย่าง

4. ห้างหุ้นส่วน

4.1. ห้างหุ้นส่วนสามัญ

4.2. ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล

4.2.1. การประกอบธุรกิจซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนสามัญทุกประการ

4.3. ห้างหุ้นส่วนจำกัด

4.3.1. ธุรกิจที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมารวมตัวกันและทำสัญญาที่จะประกอบธุรกิจร่วมกัน

4.4. หุ้นส่วนประเภทจำกัดความรับผิดชอบ

4.4.1. ผู้ถือหุ้นจะรับผิดชอบเฉพาะหนี้สินที่ลงทุนเท่านั้น

4.5. หุ้นส่วนประเภทไม่จำกัดความรับผิดชอบ

4.5.1. หุ้นส่วนที่จะต้องรับผิดชอบในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการประกอบธุกิจโดยไม่จำกัดจำนวน

5. บริษัท

5.1. บริษัทจำกัด

5.1.1. การลงทุนร่วมหุ้นกันของบุคคลตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป

5.2. บริษัทมหาชน

5.2.1. การประกอบธุรกิจที่จัดตั้งโดยอาศัยความตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน

6. กิจการ่วมค้า

6.1. เป็นความร่วมมือระหว่างบริษัทกับบริษัท

6.2. ผู้ร่วมลงทุนจะต้องร่วมกันรับผิดชอบในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการดำเนินการ

6.3. กิจการร่วมค้ามักมีลักษณะความร่วมมือชั่วคราว

6.4. การถอนตัวออกจากกิจการร่วมค้าจะกระทำได้เมื่อผู้ร่วมกิจการยินยอมเท่านั้น

6.5. หากผู้ร่วมกิจการร่วมค้าคนใดคนหนึ่งเสียชีวิต กิจการยังคงดำเนินงานต่อโดยไม่ต้องยกเลิก

7. กองทุนธุรกิจ

7.1. เป็นธุรกิจที่ประกอบด้วยบุคคล 2 ฝ่าย คือผู้ที่นำทรัพย์สินมาลงทุน และนำทรัพย์สินมาประกอบธุรกิจ

7.2. ผู้นำสินทรัพย์มาลงทุนจะรับผิดชอบจำกัดเฉพาะทรัพย์สินที่นำมาลงทุนเท่านั้น

7.3. ผู้นำทรัพย์สินมาลงทุนไม่มีสิทธิในการดำเนินการทางธุรกิจ

7.4. ผู้ประกอบการอาจเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้

7.5. มีความมั่นคงปลอดภัยในการลงทุน

8. โฮลดิ้งคอมพานี

8.1. บริษัทที่ขายหุ้นให้กับบริษัทอื่นเกินกว่าร้อยละ 50 จึงถูกควบคุมในด้านนโยบายและการบริหารจัดการเรียกว่า "บริษัทในเครือ"

8.2. บริษัทที่เข้าไปควบคุมนโยบายของบริษัทในเครือโดยการซื้อหุ้นเพื่อให้ตนเองเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่เรียกว่า "บริษัทแม่"

8.3. เป็นลักษณะการขยายธุรกิจของบริษัทแม่เพื่อให้มีเครือข่ายของธุรกิจที่กว้างขวางและครอบคลุม

9. สหกรณ์

9.1. การจัดตั้งองค์กรทางธุกิจโดยการรวมตัวกันของบุคคลที่มีความสนใจที่คล้ายคลึงกัน หรือมีความต้องการที่เหมือนกัน ประกอบอาชีพเดียวกัน เพื่อจัดตั้งองค์กรขึ้นทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของกลุ่มไม่ให้ถูกเอารักเอาเปรียบ

10. รัฐวิสาหกิจ

10.1. การประกอบกิจการหรือธุกิจที่รัฐบาลเข้าไปดำเนินการเอง โดยเป็นเจ้าของกิจการนั้นทั้งหมด หรือเป็นเพียงบางส่วน ที่เป็นส่วนใหญ่คือมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ 50 หรือเกินกว่าครึ่งหนึ่งของทุนทั้งหมดของกิจการนั้น

10.2. จุดประสงค์ของการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจ

10.2.1. เพื่อควบคุมดูแลกิจการที่มีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน

10.2.2. เพื่อหารายได้เข้ารัฐบาล

10.2.3. เพื่อรักษาความมั่นคงปลอดภัยให้กับประเทศ

10.2.4. เพื่อป้องกันการถูกเอารัดเอาเปรียบ