ความรู้และการคิดเชิงออกแบบเพื่อการแก้ปํญหา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ความรู้และการคิดเชิงออกแบบเพื่อการแก้ปํญหา by Mind Map: ความรู้และการคิดเชิงออกแบบเพื่อการแก้ปํญหา

1. . การคิดเชิงออกแบบกับการแก้ปัญหา

1.1. 2.1 การระบุและตีความปัญหา

1.1.1. ป็นขั้นตอนการทำความเข้าใจและตีความปัญหาอย่างลึกซึ้ง ที่ต้องเน้นการทำความเข้าใจต่อผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย (insight) เป็นการสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตั้งคำถามปลายเปิดหรือสมมติฐานที่ผลักดันให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ และการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาให้ชัดเจน โดยการเลือกและสรุปกรอบแนวทางความเป็นไปได้

1.2. 2.2 การพัณนาความคิด

1.2.1. การระดมความคิดใหม่ (ideate) อย่างไม่มีขีดจำกัด ให้มากที่สุด หลากหลายที่สุด ในรูปแบบการระดมสมอง (brainstorm)[2][3] และนำไปสู่การประเมิน (idea evaluation) เลือกความคิดที่อยู่ภายใต้กรอบแนวทางความเป็นไปได้ ซึ่งอาจมีการซ้ำหลายรอบ[1] ความคิดแปลกใหม่ที่อยู่นอกกรอบแนวทางความเป็นไปได้ อาจถูกบันทึกและนำไปใช้ในการพัฒนาโครงการอื่นๆได้

1.3. 2.3 การสร้างแนวทางการแก้ปัญหา

1.3.1. การระดมความคิดใหม่ (ideate) อย่างไม่มีขีดจำกัด ให้มากที่สุด หลากหลายที่สุด ในรูปแบบการระดมสมอง (brainstorm)[2][3] และนำไปสู่การประเมิน (idea evaluation) เลือกความคิดที่อยู่ภายใต้กรอบแนวทางความเป็นไปได้ ซึ่งอาจมีการซ้ำหลายรอบ[1] ความคิดแปลกใหม่ที่อยู่นอกกรอบแนวทางความเป็นไปได้ อาจถูกบันทึกและนำไปใช้ในการพัฒนาโครงการอื่นๆได้

1.3.2. แบบจำลองช่วยในการรวบรวมความคิดเห็นและปรับปรุงแนวคิด ช่วยให้เข้าใจถึงจุดแข็งและจุดอ่อนของโซลูชั่นใหม่

2. . ความรู้กับการแก้ปัญหา

2.1. 1.1 ความรู้พื้นฐาน

2.1.1. แนวทางที่เป็นระบบในการ แก้ไขปัญหา เป้าหมายของการแก้ไขปัญหาคือ การกำหนดสาเหตุที่ทำให้ บางสิ่งไม่ทำงานตามที่คาดไว้ และวิธีการแก้ไขปัญหา ขั้นตอนแรกในกระบวนการแก้ปัญหาคือ การอธิบายถึงปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งหมด คำอธิบายปัญหาช่วยให้คุณและตัวแทนของ IBM Support ทราบตำแหน่งในการเริ่มต้นค้นหาสาเหตุของปัญหา ขั้นตอนนี้ ประกอบด้วยการตั้งคำถามเพื่อถามตัวคุณเองด้วยคำถามพื้นฐาน

2.2. 1.2 ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน

2.2.1. การทำความเข้าใจกับปัญหาจะช่วยให้เกิดการคาดคะเนว่าจะใช้วิธีการใดในการแก้ปัญหาเพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ ประสบการณ์เดิมของผู้แก้ปัญหาจะมีส่วนช่วยอย่างมาก ฉะนั้นในการเริ่มต้นจึงควรจะเริ่มด้วยการถามตนเองว่า “เคยแก้ปัญหาในทำนองเดียวกันนี้มาก่อนหรือไม่” ในกรณีที่มีประสบการณ์มาก่อนควรจะใช้ประสบการณ์เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา สิ่งที่จะช่วยให้เราเลือกใช้ประสบการณ์เดิมได้ดีขึ้นคือ การมองดูสิ่งที่ต้องการหา และพยายามเลือกปัญหาเดิมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน เมื่อเลือกได้แล้วก็เท่ากับมีแนวทางว่าจะใช้ความรู้ใดในการหาคำตอบหรือแก้ปัญหา