ตัวกลางหรือช่องทางการสื่อสารแบบใช้สาย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ตัวกลางหรือช่องทางการสื่อสารแบบใช้สาย by Mind Map: ตัวกลางหรือช่องทางการสื่อสารแบบใช้สาย

1. คุณสมบัติของเเต่ละสาย

1.1. สายคู่บิดเกลียว

1.1.1. คุณสมบัติ

1.1.1.1. สายคู่บิดเกลียวประกอบด้วยสายทองแดงพันเป็นเกลียว การพันกันเป็นเกลียวทำเพื่อลดรบการรบกวนจากสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียง

1.2. สายโคแอกเชียล

1.2.1. คุณสมบัติ

1.2.1.1. สายโคแอกเชียลมีฉนวนห่อหุ้มหลายชั้น ทำให้ป้องกันสัญญาณรบกวนได้มากกว่าสายคู่บิดเกลียว ส่งข้อมูลได้ระยะทางไกล

1.3. สายใยแก้วนำแสง

1.3.1. คุณสมบัติ

1.3.1.1. เนื่องจากสายใยแก้วนำเเสงนำสัญญาณที่เป็นแสง ดังนั้นเเสงมีการเคลื่อนที่เร็วมาก การส่งข้อมูลผ่านสายใยแก้วนำเเสงจึงทำการส่งได้เร็วเท่ากับความเร็วแสง

2. ตัวกลางหรือช่องทางการสื่อสาร

2.1. หมายถึง สิ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการนำเสนอข้อมูลจากผู้งส่งไปยังผู้รับ ในการสื่อสาร 1 ครั้ง อาจใช้ตัวกลางมากกว่า 1 ประเภท เพื่อให้ข้อมูลสมบูรณ์ ตัวกลางมีหลายประเภท เเตกต่างกันในด้านปริมาณข้อมูลที่ผ่านไปได้ในช่วงเวลาหนึ่ง

2.2. การวัดปริมาณความจุในการนำข้อมูล เรียกว่า Banwidth มีหน่วยเป็นบิต ต่อวินาที

2.3. การสื่อสารจะต้องใช้ตัวกลางที่เหมาะสมกับข้อมูลเเละตอบสนองต่อความต้องการของผู้ส่งสาร เเบ่งตัวกลางได้ 2 ประเภทคือ 1)ตัวกลางเเบบใช้สาย เป็นการใช้สายนำสัญญาณสำหรับการสื่อสารข้อมูล สายที่นิยม สายคู่บิดเกลียว สาโคแอกเชียลเเละสายใยเเก้วนำแสง 2)ตัวกลางแบบไร้สาย ใช้สนามเเม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูงในการนำพาข้อมูล เช่น อินฟาเรด คลื่นวิทยุ ดาวเทียม

3. สื่อสารแบบใช้สาย

3.1. จะใช้สายสัญญาณ

3.2. หรือสายเคเบิล

3.3. เพื่อทำหน้าที่เป็นสื่อกลาง

3.4. ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน

4. ตัวกลาง

4.1. สายโคแอกเซียล

4.1.1. สายโคแอกแบบบาง

4.1.2. สายโคแอกแบบหนา

4.1.3. หัวเชื่อมต่อ

4.1.3.1. หัวเชื่อมสาย BNC

4.1.3.2. หัวเชื่อมสายรูปตัว T

4.1.3.3. หัวเชื่อมสายแบบ Barrel

4.1.3.4. ตัวสิ้นสุดสัญญาณ

4.2. สายใยแก้วนําแสง

4.2.1. สายใยแก้วนําแสงชนิดโหมดเดี่ยว

4.2.2. สายใยแก้วนําแสงชนิดหลายโหมด

4.2.2.1. แบบ SC Connector

4.2.2.1.1. สีขาว

4.2.2.1.2. สีน้ําเงิน

4.2.2.1.3. เขียว

4.2.2.2. แบบ ST Connector

4.2.2.3. แบบ FC Connector

4.2.2.4. แบบ LC Connector

4.3. สายคู่บิดเกลียว

4.3.1. ชนิดของสาย มี 2 ชนิด

4.3.1.1. สายคู่บิดเกลียวแบบไม่หุ้มฉนวน

4.3.1.1.1. UTP หรือ สายแลน

4.3.1.2. สายคู่บิดเกลียวแบบหุ้มฉนวน

4.3.1.2.1. STP

4.3.2. TP

5. ชนิดของเปลือกหุ้มสาย UTP

5.1. 1.สายชนิด PVC เป็นสายที่มีการใช้งานทั่วไปอย่างแพร่หลาย

5.2. 2.สายชนิด CM เป็นสายที่เหมาะกับการใช้งานทั่วไปหรือการติดตั้งสายแนวราบภายในชั้นเดียวกัน

5.3. 3.สายชนิด CMR เหมาะกับติดตั้งในแนวดิ่ง

5.4. 4.สายชนิด LSZH สายชนิดนี้ขณะติดไฟจะให้ควันไฟ/ควันพิษน้อย