องค์ความรู้เกี่ยวกับโมเดล

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
องค์ความรู้เกี่ยวกับโมเดล by Mind Map: องค์ความรู้เกี่ยวกับโมเดล

1. ADDIE Model

1.1. การวิเคราะห์ (Analysis)

1.1.1. การวิเคราะห์เนื้อหา

1.1.1.1. กำหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบทเรียน

1.1.2. การกำหนดหัวเรื่องและวัตถุประสงค์ทั่วไป

1.1.3. การวิเคราะห์ผู้เรียน

1.1.4. การวิเคราะห์วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

1.2. การออกแบบ (Design)

1.2.1. เมื่อนักออกแบบและพัฒนานวัตกรรมสื่อดำเนินการแก้ไขตามเหมาะสมแล้ว จึงนำบทเรียนไปใช้งานจริง

1.2.2. กำหนดโครงร่างและลำดับของเนื้อหา

1.2.3. กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้และกลยุทธ์เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดประสงค์

1.2.4. กำหนดแผนผังแสดงลำดับการนำเสนอบทเรียนตั้งแต่ต้นจนจบ

1.3. การพัฒนา (Development)

1.3.1. ผู้ออกแบบสร้างส่วนต่างๆแล้วทำการทดสอบเพื่อหาข้อผิดพลาดเพื่อนำผลไปปรับปรุงแก้ไข

1.4. การนำไปใช้ (Implementation)

1.5. การประเมินผล (Evaluation)

1.5.1. การประเมินผลรูปแบบ (Formative)

1.5.1.1. เป็นการนำเสนอในแต่ละขั้นของ ADDIE Process ซึ่งเป็นการประเมินผลเพื่อพัฒนา

1.5.2. การประเมินผลในภาพรวม (Summative)

1.5.2.1. จะทำเมื่อทำการสอนเสร็จสิ้นเพื่อประเมินผลประสิทธิผลการสอนทั้งหมด

1.6. ตัวอย่างสื่อการสอน เช่น เกมบันไดงูเลขคณิตศาสตร์

2. TPACK

2.1. ความรู้ด้านวิธีการสอน (Pedagogical Knowledge) หรือ PK

2.1.1. ผู้สอนสามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน

2.2. ความรู้ด้านเทคโนโลยี (Technological Knowledge) หรือ TK

2.2.1. ผู้สอนสามารถประยุกต์ใช้สื่ออุปกรณ์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาได้

2.3. ความรู้ด้านเนื้อหา (Content Knowledge) หรือ CK

2.3.1. หลักการที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาการในหลักสูตรที่ต้องการที่จะถ่ายทอดไปยังผู้เรียน เช่น คณิตศาสตร์, ภาษาไทย, วิทยาศาสตร์ หรือวิชาอื่น ๆ

2.4. ตัวอย่างสื่อการสอน เช่น เกมkahoot

2.4.1. กำหนดเกณฑ์การประเมินผล

3. ASSURE Model

3.1. Analyze learners (การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน)

3.1.1. ลักษณะทั่วไป

3.1.1.1. เพศ อายุ ชั้นปีที่เรียน

3.1.2. ลักษณะเฉพาะ

3.1.2.1. ความรู้และทักษะพื้นฐานของผู้เรียนในเนื้อหาที่จะสอน

3.1.2.2. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จะสอนนั้นหรือไม่

3.1.2.3. ทัศนคติของผู้เรียนต่อวิชาที่จะเรียน

3.2. State objectives (การกำหนดวัตถุประสงค์)

3.2.1. ด้านพุทธิพิสัย

3.2.1.1. ความรู้ความเข้าใจ สติปัญญา และการพัฒนา

3.2.2. ด้านทักษะพิสัย

3.2.2.1. การกระทำ การแสดงออกหรือการปฏิบัติ

3.2.3. ด้านจิตพิสัย

3.2.3.1. ด้านความคิด ทัศนคติ ความรู้สึก ค่านิยมและการเสริมสร้างทางปัญญา

3.3. ทักษะในการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น ทักษะด้านภาษา คณิตศาสตร์ การอ่าน และการใช้เหตุผล

3.4. Select instructional methods, media, and materials (การเลือก ดัดแปลงหรือออกแบบสื่อใหม่)

3.4.1. การเลือกสื่อที่มีอยู่แล้ว

3.4.2. การปรับปรุง หรือดัดแปลงสื่อที่มีอยู่แล้ว

3.4.3. การออกแบบสื่อใหม่

3.5. Utilize media and materials (การใช้สื่อ)

3.5.1. ก่อนนำสื่อการเรียนการสอนใดมาใช้จำเป็นต้องมีการตรวจสอบเนื้อหาว่าตรงตามวัตถุประสงค์หรือไม่

3.5.2. เตรียมสถานที่ให้เหมาะสมกับการใช้สื่อการสอนแต่ละชนิด

3.5.3. เตรียมผู้เรียนให้พร้อมที่จะเรียนเรื่องนั้นๆ มีการเร้าความสนใจ

3.5.4. การนำเสนอ

3.5.4.1. ทำตัวให้เป็นกลางเป็นธรรมชาติ

3.5.4.2. ขณะที่บรรยายนำเสนอสื่อการเรียนการสอนต้องสอดแทรกอารมณ์ขันบ้าง

3.6. Require learner participation (การกำหนดการตอบสนองของผู้เรียน)

3.6.1. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนพูดหรือเขียนอย่างเปิดเผยเมื่อผู้เรียนมีการตอบสนองผู้สอน ควรให้ทำแบบฝึกหัด การตอบคำถาม การอภิปราย เป็นต้น เพื่อเสริมความเข้าใจ

3.6.2. ประเมินความสนใจของผู้เรียนโดยการวิเคราะห์สีหน้า ท่าทางของผู้เรียนไปพร้อมกัน

3.7. Evaluate and revise (การประเมินการใช้สื่อ)

3.7.1. การประเมินผลกระบวนการเรียนการสอน

3.7.2. การประเมินสื่อและวิธีการเรียนการสอน

3.8. ตัวอย่างสื่อการสอนเช่น รูปทรงเรขาคณิต3มิติ