นวัตกรรมการเรียนรู้เเบบร่วมสมัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
นวัตกรรมการเรียนรู้เเบบร่วมสมัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน by Mind Map: นวัตกรรมการเรียนรู้เเบบร่วมสมัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน

1. ประเภทและลักษณะของเด็กพิเศษ

1.1. ความบกพร่องทางการมองเห็น

1.1.1. ลักษณะ

1.1.1.1. มองเห็ตวัตถุบิดเบี้ยวเเละพร่า

1.1.1.2. เส้นเเนวตั้งเเนวขวางไม่ชัดเจนหรือเท่ากัน

1.1.2. ลักษณะการเรียน

1.1.2.1. สามารถเรียนรู้ได้เท่าเด็กปกติ

1.1.2.1.1. สื่อเหมาะสม

1.1.2.1.2. วิธีการสอนเหมาะสม

1.1.2.2. มีบางวิชาที่จำกัดหรือทำได้น้อย

1.1.2.2.1. พละศึกษา

1.1.2.2.2. คัดลายมือ

1.1.2.2.3. นาฏศิลป์

1.1.2.3. การใช้อักเบลล์

1.2. ความบกพร่องทางการได้ยิน

1.2.1. ลักษณะ

1.2.1.1. สภาพที่สูญเสียการได้ยิน

1.2.1.2. ไม่สามารถรับเสียงได้ปกติ

1.2.1.3. หูตึง

1.2.1.3.1. สามารถได้ยินได้บ้าง

1.2.1.3.2. ระดับการได้ยินคือ 26-89 เดซิเบล

1.2.1.4. หูหนวก

1.2.1.4.1. ไม่สามารถได้ยินเสียงพูดดัง

1.2.1.4.2. สูญเสียการได้ยินที่ระดับเสียง 90 เดซิเบลขึ้นไป

1.2.1.4.3. รับรู้ได้บางเสียงจากการสั่นสะเทือน

1.2.2. ลักษณะการเรียน

1.2.2.1. ใช้วิธีสื่อสารอื่นเเทนการพูด

1.2.2.1.1. ภาษามือ

1.2.2.1.2. การใช้ท่าทาง

1.2.2.1.3. การสะกดนิ้ว

1.2.2.1.4. การอ่านริมฝีปาก

1.2.2.1.5. การสื่อสารรวม

1.2.2.2. ให้เด็กที่บกพร่องนั่งในตำเเหน่งเหมาะสม

1.2.2.2.1. มองเห็นชัดเจน

1.2.2.2.2. ได้ยินชัดเจน

1.2.2.3. ท่าทางประกอบการพูด

1.2.2.4. เขียนกระดานให้มากโดยเฉพาะสิ่งที่มีความสำคัญ

1.2.2.5. ไม่พูดขณะเขียน

1.2.2.5.1. เด็กไม่สามารถอ่านปากครูได้

1.2.2.6. มีการรายงานหน้าชั้นเรียน

1.2.2.7. ทำแผนศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)

1.3. ความบกพร่องทางสติปัญญา

1.3.1. ลักษณะ

1.3.1.1. ให้คำเเนะนำครอบครัว

1.3.1.2. พัฒนาการล่าช้า

1.3.1.2.1. ร่างกาย

1.3.1.2.2. สังคม

1.3.1.2.3. อารมณ์

1.3.1.2.4. ภาษา

1.3.1.2.5. สติปัญญา

1.3.1.3. บกพร่องน้อย

1.3.1.3.1. สามารถเรียนหนังสือได้

1.3.1.4. บกพร่องระดับปานกลาง

1.3.1.4.1. เด็กที่พอฝึกอบรมได้

1.3.2. ลักษณะการเรียน

1.3.2.1. กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้องกับความสามารถของเด็ก

1.3.2.2. ระดับก่อนประถมศึกษา

1.3.2.2.1. ให้คำเเนะนำครอบครัว

1.3.2.3. ระดับมัธยมศึกษา

1.3.2.3.1. เมื่อได้รับการศึกษาที่เพียงพอสามารถประกอบอาชีพได้

1.3.2.3.2. คอยให้คำแนะนำ ปรึกษา

1.4. ความบกพร่องทางด้านร่างกายและสุขภาพ

1.4.1. ลักษณะ

1.4.1.1. ร่างกายเติบโตไม่ปกติ

1.4.1.1.1. เเขน

1.4.1.1.2. ขา

1.4.1.1.3. ลำตัว

1.4.1.1.4. ศรีษะ

1.4.1.2. สูญเสียอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย

1.4.1.3. เคลื่อนที่ได้ไม่ดี

1.4.2. ลักษณะการเรียน

1.4.2.1. กิจกรรมระดับก่อนวัยเรียน

1.4.2.1.1. เตรียมความพร้อม

1.4.2.1.2. การบำบัด

1.4.2.2. ระดับประถมศึกษา

1.4.2.2.1. เเนะนำให้ผู้ปกครองสอนเด็กอยู่ที่บ้าน

1.4.2.3. กิจกรรมระดับประถมศึกษา

1.4.2.3.1. สามารถเรียนร่วมเต็มเวลาได้

1.4.2.3.2. พิจารณาการจัดเด็กเรียนร่วมเป็นรายบุคคล

1.4.2.4. กิจกรรมระดับมัธยมศึกษา

1.4.2.4.1. เน้นด้านวิชาการพื้นฐานด้านการงานเเละอาชีพ

1.4.2.4.2. การบำบัดกายภาพ

1.4.2.4.3. การแก้ไขคำพูดเบื้องต้น

1.5. ความบกพร่องทางการพูดและภาษา

1.5.1. ลักษณะ

1.5.1.1. บกพร่องทางด้านการพูด

1.5.1.2. บกพร่องการเข้าใจภาษาที่คนอื่นพูด

1.5.1.3. บกพร่องการพูดให้คนอื่นเข้าใจ

1.5.2. ลักษณะการเรียน

1.5.2.1. การสื่อความหมายโดยใช้ท่าทางหรือมือ

1.5.2.2. การสื่อความหมายโดยใช้การฟังหรือภาษาพูด

1.6. เด็กที่มีปัญหาการเรียนรู้ช้า

1.6.1. ลักษณะ

1.6.1.1. บกพร่องกับทั้งภาษาการพูดเเละการเขียน

1.6.1.2. มีปัญหาทางด้านการฟัง การคิด การพูด การอ่าน การสะกดคำ

1.6.1.3. ความบกพร่องทางการรับรู้

1.6.2. ลักษณะการเรียน

1.6.2.1. ใช้คำสั่งที่สั้น ชัดเจน เข้าใจง่าย

1.6.2.2. ไม่สอนโดยการบรรยายเพียงอย่างเดียว

1.7. เด็กที่มีปัญหาด้านพฤติกรรม

1.7.1. ลักษณะ

1.7.1.1. เด็กที่แสดงพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากทั่วไป

1.7.1.2. ไม่สามารถเรียนรู้ ขาดสัมพันธภาพกับเพื่อนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

1.7.2. ลักษณะการเรียน

1.7.2.1. ควรพิจารณาองค์ประกอบสำคัญ

1.7.2.1.1. ทัศนคติของเด็กต่อการเรียนร่วม

1.7.2.1.2. ทัศนคติของครู ผู้ปกครองต่อการเรียนร่วม

1.7.2.1.3. พฤติกรรมของเด็ก ตลอดจนความรุนแรงของพฤติกรรม

1.7.2.1.4. ความสามารถของเด็กในการควบคุมตนเอง ตลอดจนทักษะทางสังคมของเด็ก

1.7.2.2. จัดให้มีการศึกษาตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม มีการประเมินพัฒนาการอย่างมีระบบ

1.8. เด็กออทิสติก

1.8.1. ลักษณะ

1.8.1.1. มีปัญหาการพัฒนาการการเรียนรู้ สุขภาพจิตและการอยู่ร่วมกันในสังคม

1.8.1.2. เด็กจะไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น

1.8.1.3. กลัว โกรธ และไม่พอใจเมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่คาดฝันหรือเมื่อถูกบังคับ

1.8.1.4. เด็กจะไม่สามารถเข้าใจคำพูด ความรู้สึกและความต้องการของผู้อื่น

1.8.2. ลักษณะการเรียน

1.8.2.1. แผนการสอนเฉพาะบุคคล

1.8.2.2. ห้องเรียนร่วมเด็กออทิสติก

1.8.2.3. ใช้สื่อที่เด็กสามารถจับต้องและมองเห็นได้

1.9. เด็กพิการซ้อน

1.9.1. ลักษณะ

1.9.1.1. มีความรู้สึกเหมือนถูกขับไล่ออกจากสังคม

1.9.1.2. ความบกพร่องในการกระทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ

1.9.2. ลักษณะการเรียน

1.9.2.1. ให้ความช่วยเหลือพิเศษ มีแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล เพราะเด็กพิการซ้อนแต่ละคนไม่เหมือนกัน

1.10. เด็กที่มีปัญญาเลิศ

1.10.1. ลักษณะ

1.10.1.1. เด็กที่มีระดับสติปัญญาสูง

1.10.1.2. คล้ายเด็กสมาธิสั้น เรื่องที่สนใจจะตั้งใจศึกษามาก ส่วนเรื่องที่ไม่สนใจ จะไม่ตั้งใจเลย

1.10.2. ลักษณะการเรียน

1.10.2.1. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน ตามระดับความสามารถของเด็ก

1.10.2.2. การสอนให้นักเรียนรู้จักคิด รู้จักใช้เหตุผลก่อนตัดสินใจและไม่ได้หลงเชื่อใครง่าย ๆ

2. ความหมาย

2.1. การบริหารชั้นเรียนให้เด็กพิเศษเเละเด็กปกติมีการร่วมกิจกรรมกัน

2.2. การรับเด็กเข้าเรียนโดยไม่เเบ่งเเยก

2.2.1. เด็กที่มีความการพิเศษ

2.2.2. เด็กพิการ

2.2.3. เด็กปกติ

3. รูปแบบของการศึกษาเเบบรวม

3.1. ชั้นเรียนปกติเต็มวัน

3.2. ชั้นเรียนปกติเต็มวันเเละบริการปรึกษา

3.3. ชั้นเรียนปกติเต็มวันเเละบริการครู

3.4. ชั้นเรียนปกติเต็มวันเเละบริการสอนเสริม

3.5. ชั้นเรียนพิเศษในโรงเรียนปกติ

3.6. ชั้นเรียนพิเศษเเละชั้นปกติ

3.6.1. เด็กเรียนในชั้นพิเศษ

4. ความสำคัญ

4.1. เพื่อสามารถเรียนในระบบการศึกษาปกติ

4.2. เพื่อสามารถทำกิจกรรมร่วมกับเด็กปกติ

4.3. เพื่อสามารถเรียนร่วมกับเด็กปกติ

4.4. เพิ่มโอกาสทางการศึกษา

4.4.1. ความรู้

4.4.2. ความสามารถ

4.4.3. ทักษะการดำรงชีวิต

5. องค์ประกอบ

5.1. ด้านสรีระวิทยา

5.1.1. ปัญหาทางร่างกายของเด็ก

5.2. ด้านจิตวิทยา

5.2.1. สติปัญญา

5.2.2. ความรู้สึกนึกคิด

5.2.3. การปรับตัวของอารมณ์เเละสังคม

5.2.4. ความสัมพันธ์

5.2.4.1. ครอบครัว

5.2.4.2. เพื่อน

6. หลักการเรียนรู้เเบบเรียนรวม

6.1. ความยุติธรรมในสังคม

6.2. การคืนสู่สภาวะปกติ

6.3. สภาพแวดล้อมที่มีข้อจำกัดน้อยที่สุด