Fluid, Electrolyte and Acid-Base Balance

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Fluid, Electrolyte and Acid-Base Balance by Mind Map: Fluid, Electrolyte and Acid-Base Balance

1. หน่วยที่ใช้วัดความเข้มข้นของสาร

1.1. ตัวถูกละลาย (solvent) สารที่สามารถละลายได้ในตัวทำละลาย (solute) - หน่วยวัดเป็น kg , L

1.2. สารละลาย (solution) คือส่วนของ body fluid -หน่วยวัดเป็นกรัม

1.3. Osmole คือการวัดจำนวนโมเลกุลหรืออิออนของ solute ที่ีไม่แตกตัว (ความสามารถในการดึงน้ำ)

1.4. Osmolarity - 1 osmole / kg น้ำ - 1 osmole / L

1.5. Plasma Osmolarity มีค่าคือผลรวมของ osmolarity ของสารทุกตัวใน plasma ซึ่งส่วนใหญ่เป็น Na - ค่าปกติ 275-290 mosmol/kg

2. การแลกเปลี่ยนของสารน้ำและอิเล็กโทรไลท์ในร่างกาย

2.1. Passive transport - ความเข้มข้นสูงไปความเข้มข้นต่ำ - ไม่มีการใช้พลังงาน

2.1.1. Diffusion (การแพร่) -จากความเข้มข้นมากไปต่ำ จนกว่าจะเท่ากัน

2.1.2. Osmosis - การเคลื่อนที่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ของผนังเซลล์และผนังหลอดเลือด - จาก osmolarity ต่ำไปสูง

2.1.3. Capillary Filtration - การเคลื่อนที่ของของเหลวในหลอดเลือด - อาศัยความดันในการเคลื่อนที่ "hydrostatic pressure"

2.1.4. Reabsorption - การดูดกลับของเหลวที่เคลื่อนที่ออกจากหลอดเลือดฝอย albumin

2.2. Active transport - ใช้พลังงาน ATP ในการเคลื่อนที่ของสาร - ความเข้มข้นน้อยไปมาก - ex. Na-K pump

3. การเคลื่อนที่ของน้ำ

3.1. Hydrostatic Pressure (แรงดันของน้ำ) - เกิดจากความดันในหลอดเลือด - น้ำและโซเดีมเคลื่อนที่จากหลอดเลือดเข้าสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์ เนื้อเยื่อต่างๆ

3.2. Oncotic pressure (แรงเคลื่อนของโปรตีน) - ทำหน้าที่ดึงดูดน้ำไว้ภายในหลอดเลือด โดยอาศัยโปรตีนเป็นตัวพา - ex. Albumin

4. Fluid Balance

4.1. Fluid intake and reabsotption = Fluid disruption and fluid output

4.2. มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา เรียกว่า dynamic state

5. ความไม่สมดุลของน้ำและอิเล็กโทรไลท์

5.1. ภาวะเสียสมดุลของน้ำในร่างกาย

5.1.1. ภาวะขาดน้ำ (hypovolemia) - ได้รับน้ำน้อยกว่าความต้องการ - สูญเสียน้ำมาก - ICF & ECF ลดลง

5.1.1.1. ภาวะขาดน้ำร่วมกับระดับความเข้มข้นของพลาสมาคงเดิม (Isotonic fluid volume deficit)

5.1.1.1.1. water loss = electrolytes loss

5.1.1.2. ภาวะขาดน้ำกับระดับความเข้มข้นของพลาสมาลดลง(Hypo-osmolar fluid volume deficit)

5.1.1.2.1. water loss < electrolytes loss

5.1.1.3. ภาวะขาดน้ำร่วมกับระดับความเข้นของพลาสมาเพิ่มขึ้น(Hyper-osmolar fluid volume deficit)

5.1.1.3.1. water loss from ECF > electrolytes loss

5.1.1.4. อาการ - การหายน้ำ - น้ำหนักลด 24-48 ชมใ - ผิวแห้ง ความตึงตัวของ -ชีพจรลดลง ความดันต่ำ -หายใจเร็ว

5.1.2. ภาวะน้ำเกิน (Hypervolemia) ภาวะที่ร่างกายมีน้ำและโซเดียมเกิน - ได้รับน้ำและโซเดียมมากเกินไป - มีการสูญเสียโซเดียมและน้ำออกทางไตลดลง - อื่นๆ เช่น การปรับตัวต่ออากาศ

5.1.2.1. อาการ - น้ำหนักตัวมากขึ้น 24-48 ชม - ผิวหนังอุ่นแดง เกิดการบวมโดยเฉพาะปลายมือปลายเท้า - เซลล์บวม ความดันภายในกระโหลกศรีษะสูง ปวดหัว คลื่นไส้ ระดับความรู้สึกตัวลดลง - น้ำคั่งที่ปอด - ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง - ปัสสาวะมาก ใส - สารน้ำในหลอดเลือดเพิ่ม

5.2. ความไม่สมดุลของอิเล็กโทรไลท์

5.2.1. ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ (hyponatremia) - จาการสูญเสียโซเดียมและน้ำพร้อมกันจากทางเดินอาหาร อาเจียน ท้องร่วง - NA < 135 mEq/L

5.2.1.1. อาการ mild - อ่อนเพลีย - ปวดศรีษะ มึนงง moderate - เวียนศรีษะ - BP ต่ำ ชีพจรเต้นเร็ว severe - กระสับกระส่าย - ไม่รู่สึกตัว - ชักช็อค **acute 48hrs

5.2.2. ภาวะโซเดียมในเลือดสูง (Hypernatremia) - NA > 145 mEq/L - ได้รับโซเดียมมากกว่าปกติ - ขับโซเดียมออกน้อย - จากภาวะขาดน้ำ

5.2.2.1. อาการ - แสดงอาการของภาวะขาดน้ำ - ถ้าโซเดียมสูงมากๆ ผู้ป่วยอาจแสดงอาการของภาวะน้ำเกิน - มีอาการทางสมอง รีเฟลกซ์ลดลง กระสับกระส่าย โคม่า ชัก หมดสติ

5.2.3. K - ปกติ 3.5-5.0 mEq/L - ร่างกานขับโดยออกจากปัสสาวะ - aldosterone ควบคุม - pH ของเลือดและระดับอินซูลิน มีผลต่อการเคลื่อนที่ - กระตุ้นศักย์ไฟฟ้า

5.2.3.1. ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ

5.2.3.1.1. K < 3.5mEq/L

5.2.3.1.2. อาการ - DTR ลดลง เป็นตะคริว - กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต

5.2.3.2. ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง

5.2.3.2.1. K > 5.0mEq/L

5.2.3.2.2. อาการ - เป็นตะคริว ชาปลายมือปลายเท้า อ่อนเพลีย อัมพาต

5.2.4. Ca - ค่าปกติ 8.5-10.5 mg/dl - ได้รับจากทางเดินอาหาร เปลี่ยนเป็น active form ที่ไต - เป็นส่วนประกอบของกระดูลก ควบคุมอัตราการทำงานของหัวใจ กระตุ้นระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ช่วยให้เลือดแข็งตัว

5.2.4.1. ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ

5.2.4.1.1. Ca < 8.5 mg/dl

5.2.4.1.2. อาการ - เกร็ง กระตุก - ชาตามปลายมือปลายเท้า ริมฝีปาก *- กล่องเสียงหดเกร็ง - หัวใจเต้นผิดปกติ --> ชัก - ภาวะเรื้อรัง = สมองเสื่อม

5.2.4.2. ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง

5.2.4.2.1. Ca > 10.5 mg/dl

5.2.4.2.2. อาการ - อ่อนเพลีย - ไม่มีเเรง - ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยน - หัวใจเต้นผิดจังหวะ - คลื่นไส้ ท้องผูก อาเจียน - นิ่วในไต - มีการสะสมแคลเซียมในลูกตา ข้อต่อกระดูกต่างๆ

6. สัดส่วนและการกระจายของสารน้ำในร่างกาย

6.1. น้ำในเซลล์ (Intracellular Fluid : ICF) - 2/3 ของปริมาณน้ำในร่างกาย - 40% ของ Body weigth

6.2. น้ำนอกเซลล์ (Extracellular Fluid : ECF) - 1/3 ของปริมาณน้ำในร่างกาย - 20% ของ Body weight

6.2.1. น้ำในช่องว่างระหว่างเซลล์ (Interstitial Fluid) 80% ของ ECF

6.2.2. น้ำในหลอดเลือด (Intravascular Fluid) 20% ของ ECF

6.3. Total Body Water (60%) = ICF (40%) + ECF (20%) ECF = Intravascular (20%) + Interstitial Fluid (80%)

7. Homeostatic Mechanism คือ กลไกการปรับสมดุลของร่างกายเพื่อให้อยู่ในสภาพปกติ เช่น ความสมดุลของน้ำและอิเล็คโทรไลท์

8. ชนิดของสารน้ำ

8.1. Isotonic Solution - สารละลายที่มีแรงดันออสโมซิส ภายใน=ภายนอกเซลล์

8.2. Hypotonic Solution -สารละลายที่มีแรงดันออสโมซิส ภายใน>ภายนอกเซลล์

8.3. Hypertonic Solution -สารละลายที่มีแรงดันออสโมซิส ภายใน<ภายนอกเซลล์

9. กลไกการควบคุมรักษาสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลท์ในร่างกาย

9.1. Osmoreceptors

9.1.1. - ตั้งอยู่ที่ thirst center ของ hypothalamus ที่หน้าที่รับรู้การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของเลือด - ควบคุบปริมาณ ความเข้มข้น ของน้ำนอกเซลล์ - เมื่อน้ำนอกเซลล์เพิ่มขึ้นหรือน้ำในร่างกายลดลง น้ำภายในเซลล์จะถูกดึงออกสู่ช่องว่างระหว่างเซลล์ = เซลล์เหี่ยว = กระหายน้ำเพิ่มขึ้น

9.2. Baroreceptor

9.2.1. - เป็นตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงของความดันเลือด - อยู่ใน carotid sinus และ aortic arch - เมื่อถูกกระตุ้นจะสัญญานไป medulla ต่อไปยังระบบประสาทอัตโนมัติในการควบคุมการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด = หัวใจทำงานช้าลง บีบตัวลดลง หลอดเลือดขยายตัว

9.3. Hormones

9.3.1. ADH = สร้างจากไฮโปทาลามัสเก็บไว้ที่ต่อมพิทูอิทารีด้านหลัง ทำหน้าที่ดูดน้ำกลับที่ Collecting duct

9.3.2. RASS = บริเวณ juxtaglomerular cell ทำหน้าที่ทำให้เกิดความสมดุลของน้ำและโซเดียม และสมดุลของน้ำกับความดันเลือด

9.3.3. ANP = ฮอร์โมนจากหัวใจห้อง atruim หลังเมื่อความกันโลหิตในห้องนั้นสูงขึ้น หรือภาวะกล้ามเนื้อถูกยืด

9.4. Kidney