PROPERTIES OF PURE SUBSTANCES (คุณสมบัติของสารบริสุทธิ์)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
PROPERTIES OF PURE SUBSTANCES (คุณสมบัติของสารบริสุทธิ์) by Mind Map: PROPERTIES OF PURE SUBSTANCES (คุณสมบัติของสารบริสุทธิ์)

1. PROPERTY DIAGRAMS FOR PHASE-CHANGE PROCESSES (แผนภาพคุณสมบัติการเปลี่ยนสถานะของสารบริสุทธิ์)

1.1. The T-v Diagram

1.1.1. critical point

1.1.1.1. จุดวิกฤต จุดที่สภาวะของเหลวอิ่มตัวกับสภาวะไออิ่มตัวเป็นจุดเดียวกัน

1.1.2. saturated liquid line

1.1.2.1. เส้นของเหลวอิ่มตัว

1.1.3. saturated vapor line

1.1.3.1. เส้นไออิ่มตัว

1.1.4. compressed liquid region

1.1.4.1. บริเวณของเหลวอัดตัวได้ อยู่ด้านซ้ายของเหลวอิ่มตัว

1.1.5. superheated vapor region

1.1.5.1. บริเวณไอร้อนยวดยิ่ง อยู่ข้างขวาของเส้นไออิ่มตัว

1.1.6. saturated liquid-vapor mixture region,or wet region

1.1.6.1. บริเวณของผสมของเหลวอิ่มตัวกับไออิ่มตัวหรือบริเวณไอชื้น บริเวณที่อยู่ระหว่างสภาวะของเหลวอิ่มตัวกับไออิ่มตัว

1.2. The P-v Diagram

1.2.1. triple line

1.2.1.1. เส้นร่วมสาม ตัวแบ่งสถานะทั้ง 3 สถานะ

1.2.2. triple point

1.2.2.1. จุดร่วมสาม สภาวะที่สารใดๆบนเส้นสามเชิง จะมีความดันและอุณหภูมิเป็นค่าเดียวกัน แต่จะมีปริมาตรจำเพาะแตกต่างกัน

1.2.3. การระเหิด

1.2.3.1. วิธีที่1 หลอมเหลวกลายเป็นของเหลวก่อนแล้วจึงระเหยกลายเป็นไอ

1.2.3.2. วิธีที่ 2 กลายเป็นไอโดยตรง

1.3. The P-T Diagram

1.4. The P-v-T Surface

1.5. Enthalpy

1.5.1. h = u+Pv

1.5.2. H = U+PV

2. PROPERTY TABLES (ตารางคุณสมบัติ)

2.1. 1a Saturated Liquid and Saturated Vapor States (ของเหลวอิ่มตัวและไออิ่มตัว)

2.1.1. A-4 และ A-5

2.1.1.1. ข้อแตกต่าง ตาราง A-4 อยู่ภายใต้อุณหภูมิ ตาราง A-5 อยู่ภายใต้ความดัน

2.2. 1b Saturated Liquid-Vapor Mixture (ของผสมอิ่มตัว)

2.2.1. quality : x

2.2.1.1. อัตราส่วนของมวลสารในสถานะอิ่มตัวหารด้วยมวลรวมของสารทั้งระบบ

2.3. 2 Superheated Vapor (ไอร้อนยวดยิ่ง)

2.3.1. ความดันต่ำๆ

2.3.1.1. ถ้า ความดันน้อยกว่าความดันอิ่มตัว ให้ดูที่อุณหภูมิ

2.3.2. อุณหภูมิสูงๆ

2.3.2.1. ถ้า อุณหภูมิมากกว่าอุณหภูมิอิ่มตัว ให้ดูที่ความดัน

2.3.3. ปริมาตรจำเพาะมากๆ

2.3.3.1. ถ้า ปริมาตรจำเพาะมากกว่าปริมาตรจำเพาะของไอให้ดูที่ความดันหรืออุณหภูมิ

2.3.4. พลังงานภายในมากๆ

2.3.4.1. ถ้า พลังงานภายในมากกว่าพลังงานภายในของไอให้ดูที่ความดันหรืออุณหภูมิ

2.3.5. เอนทาลปีมากๆ

2.3.5.1. ถ้า เอนทาลปีมากกว่าเอนทาลปีของไอ ให้ดูที่ความดันหรืออุณหภูมิ

2.4. Linear interpolation (การประมาณค่าเชิงเส้น)

2.4.1. วิธีการปรับเส้นโค้งให้เหมาะสมโดยใช้ linear polynomials เพื่อสร้างจุดข้อมูลใหม่ ภายในช่วงพิสัยที่ไม่ต่อเนื่อง

2.5. 3 Compressed Liquid

2.5.1. A-7

2.5.2. ความดันสูงๆ

2.5.2.1. ถ้า ความดันมากกว่าความดันอิ่มตัว ให้ดูที่อุณหภูมิ

2.5.3. อุณหภูมิต่ำๆ

2.5.3.1. ถ้า อุณหหภูมิน้อยกว่าอุณหภูมิจำเพาะ ให้ดูที่ความดัน

2.5.4. ปริมาตรจำเพาะต่ำๆ

2.5.4.1. ถ้า ปริมาตรจำเพาะน้อยกว่าปริมาตรจำเพาะของเหลว ให้ดูที่ความดันหรืออุณหภูมิ

2.5.5. พลังงานภายในต่ำๆ

2.5.5.1. ถ้า พลังงานภายในน้อยกว่าพลังงานภายในของเหลว ให้ดูที่ความดันหรืออุณหภูมิ

2.5.6. เอนทาลปีต่ำๆ

2.5.6.1. ถ้า เอนทาลปีน้อยกว่าเอนทาลปีของเหลว ให้ดูที่ความดันหรืออุณหภูมิ

3. PURE SUBSTANCE (สารบริสุทธิ์)

3.1. สารบริสุทธิ์ คือ สารที่มีองค์ประกอบทางเคมีที่แน่นอน

3.2. เช่น น้ำ ไนโตรเจน ฮีเลียม และคาร์บอนไดออกไซต์

4. PHASE-CHANGE PROCESSES OF PURE SUBSTANCES (กระบวนการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารบรอิสุทธิ์)

4.1. Compressed Liquid (ของเหลวอัดตัวได้)

4.1.1. ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสน้ำอยู่ในสถานะของเหลว ไม่เดือดและไม่ระเหย

4.2. Saturated Liquid (ของเหลวอิ่มตัว)

4.2.1. ให้ความร้อนอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 100 องศาเซลเซียส ที่ความดันเท่าเดิม น้ำยังเป็นของเหลวอยู่ แต่เป็นของเหลวที่เรื่มเดือดและเริ่มกลายเป็นไอ ของเหลวที่เริ่มระเหยกลายเป็นไอ เรียกว่า ของเหลวอิ่มตัว

4.3. Saturated liquid-vapor mixture (ของผสมอิ่มตัว)

4.3.1. เมื่อน้ำเดือดอุณหภูมิจะไม่เพิ่มขึ้นจนกว่าน้ำที่เดือดจะกลายเป็นไออย่างสมบูรณ์

4.3.2. น้ำเดือดที่ 100 องศาเซลเซียส มีการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารบริสุทธิ์ Saturated liquid , Saturated vapor

4.4. Saturated Vapor (ไออิ่มตัว)

4.4.1. การถ่ายโอนความร้อนของการกลายเป็นไอ เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง เมื่อของเหลวระเหยกลายเป็นไอทั้งหมด กระบอกสูบจะเต็มไปด้วยไอ แต่ถ้ามันมีการถ่ายเทความร้อนออกจากระบบ ไอก็จะควบแน่นเปลี่ยนจากไอเป็นของเหลว

4.5. Superheated Vapor (ไอร้อนยวดยิง)

4.5.1. มีการให้ความร้อนแก่ระบบต่อไป อุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 300 องศาเซลเซียส ไอไม่ได้ถูกควบแน่นแต่เป็นไอมากขึ้นเรื่อยๆ

4.6. Saturation Temperature and Saturation Pressure

4.6.1. saturation temperature

4.6.1.1. จากความดันที่กำหนดให้ เมื่ออุณหภูมิของสารบริสุทธิ์เปลี่ยนสถานะ เรียกว่า อุณหภูมิอิ่มตัว

4.6.2. saturation pressure

4.6.2.1. ที่อุณหภูมิที่กำหนดให้ ความดันที่ทำให้สารบิสุทธิ์เปลี่ยนสถานะ เรียกว่า ความดันอิ่มตัว

4.6.3. latent heat (ความร้อนแฝง)

4.6.3.1. คือ ปริมาณความร้อนที่ทำให้วัตถุเปลี่ยนสถานะโดยอุณหภูมิคงที่

4.6.4. latent heat of fusion (ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว)

4.6.4.1. คือ ปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว โดยอุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง

4.6.5. latent heat of vaporization (ความร้อนแฝลของการระเหย)

4.6.5.1. เกิดการระเหย