แนวคิดการบำบัดทางจิตด้วยยา case คุณสุดสวย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
แนวคิดการบำบัดทางจิตด้วยยา case คุณสุดสวย by Mind Map: แนวคิดการบำบัดทางจิตด้วยยา case คุณสุดสวย

1. 1.ยารักษาโรคจิต (Antipsychotic Drung)

1.1. P8: Perphenazine

1.1.1. ชื่อสามัญ

1.1.1.1. Haloperidol

1.1.2. กลุ่มยา

1.1.2.1. Antipsychotic drugs

1.1.3. ชื่อทางการค้า

1.1.3.1. Hadol

1.1.4. เหตุผลที่ใช้ยา

1.1.4.1. เนื่องจากคนไข้มีอาการก้าวร้าว ไม่ให้ความร่วมมือในการรักษาจึงได้รับยาตัวนี้เพื่อช่วยลดพฤติกรรมให้สงบลง

1.1.5. กลไกการออกฤทธิ์

1.1.5.1. ออกฤทธิ์ใน subcritical area โดยไปกดสมองส่วนที่ทำให้เกิดอาการตื่นตัวทำให้สงบและช่วยปรับการหลั่งของ norepinephrine และ serotonin ให้สมดุล

1.1.6. สรรพคุณ

1.1.6.1. ทำให้งุนงงและหลับเป็นการลดความเคลื่อนไหวเพื่อระงับความวุ่นวาย คลุ้มคลั่ง

1.1.7. ผลข้างเคียงของยา

1.1.7.1. เวียนหัว ง่วง มองภาพซ้อน ท้องผูก ปากแห้ง

1.1.8. แนวทางการพยาบาล

1.1.8.1. 1.สังเกตอาการข้างเคียงจากการใช้ยาเช่น กระสับกระส่าย สับสน เคลื่อนไหวผิดปกติ อ่อนเพลีย เป็นต้น 2.ถ้าหากมีอาการผิดปกติรีบแจ้งแพทย์ทันที

1.2. H = Haloperidol 5 mg IM prn

1.2.1. ชื่อทางการค้า

1.2.2. กลุ่มยา

1.2.2.1. กลุ่มยารักษาโรคจิต (Antipsychotic Drung)

1.2.3. เหตุผลที่ใช้ยา

1.2.3.1. ระงับอาการกระวนกระวายหวาดกลัวเฉียบพลันเนื่องจากออกฤทธิ์รุนแรง

1.2.4. กลไกการออกฤทธิ์

1.2.4.1. ยาจะออกฤทธิ์ยับยั้งกับการทำงานของ Dopamin โดยจับกับ receptor ของ Dopamin ในสมอง

1.2.5. สรรพคุณ

1.2.5.1. รักษาโรคจิตเภท สงบอาการกระวนกระวาย ก้าวร้าว ลดความกังวลที่รุนแรง

1.2.6. ผลข้างเคียงของยา

1.2.6.1. 1.Extrapyramidal side effects (EPS) Acute dystonia ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อบิดเกร็ง ลิ้นแข็ง พูดหรือกลืนลำบาก อาการมักเกิดภายหลังได้รับยาไม่กี่ชั่วโมง หรือสัปดาห์แรก Neuroleptic maligant syndrome (NMS) กล้ามเนื้อเกร็งมาก ไข้สูง ปากแห้ง ตาพร่ามัว ท้องผูก ปัสสาวะไม่ออก คัดจมูก

1.2.7. แนวทางการพยาบาล

1.2.7.1. 1.ให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานยาและผลข้างเคียงของยาต้านโรคจิตแก้ผู้ป่วยและญาติหากผู้ป่วยลืมทานยาภายใน3-4ชั่วโมง ให้รับประทานยาในมื้อนั้นเลย ถ้าหากเกิน4ชั่วโมง ให้ทานยาในมื้อถัดไปหรืองดยาในมื้อที่ลืมโดยไม่เพิ่มขนาดยา 2.ติดตามผลข้างเคียงอย่างต่อเนื่อง ปากแห้ง :อมน้ำแข็ง เคี้ยวหมากฝรั่งหรืออมลูกอม ทำความสะอาดช่องปาก ตาพร่ามัว: แนะนำให้อ่านหนังสือที่มีอสงสว่างเพียงพอ ดูแลจัดสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ท้องผูก: รับประทานอาหารที่มีกากใย ช่วยในเรื่องการขับถ่าย ปัสสาวะไม่ออก: บันทึก I/O แต่ละวัน คัดจมูก: ให้ยาบรรเทาอาการคัดจมูก

1.3. P16 : Perphenazine

1.3.1. ชื่อสามัญ

1.3.2. ชื่อทางการค้า

1.3.3. กลุ่มยา

1.3.3.1. Antipsychotic drugs

1.3.4. เหตุผลที่ใช้ยา

1.3.4.1. เนื่องจากคนไข้มีอาการไม่ยอมนอนจึงได้รับยาตัวนี้เพื่อกดประสาทส่วนกลางทำให้ง่วงมึนงงและนอนหลับ

1.3.5. กลไกการออกฤทธิ์

1.3.5.1. ออกฤทธิ์ใน subcritical area โดยไปกดสมองส่วนที่ทำให้เกิดอาการตื่นตัวทำให้สงบและช่วยปรับการหลั่งของ norepinephrine และ serotonin ให้สมดุล

1.3.6. สรรพคุณ

1.3.6.1. ทำให้งุนงงและหลับเป็นการลดความเคลื่อนไหวเพื่อระงับความวุ่นวาย คลุ้มคลั่ง ผลข้างเคียง เวียนหัว ง่วง มองภาพซ้อน ท้องผูก ปากแห้ง

1.3.7. ผลข้างเคียงของยา

1.3.8. แนวทางการพยาบาล

1.3.8.1. 1.สังเกตอาการข้างเคียงจากการใช้ยาเช่น กระสับกระส่าย สับสน เคลื่อนไหวผิดปกติ อ่อนเพลีย เป็นต้น 2.ถ้าหากมีอาการผิดปกติรีบแจ้งแพทย์ทันที

1.4. CPZ : chlorpromazine (100) 1 x hs.

1.4.1. ชื่อสามัญ

1.4.2. ชื่อทางการค้า

1.4.3. กลุ่มยา

1.4.3.1. กลุ่มรักษาโรคจิต Antipsychotic

1.4.4. เหตุผลที่ใช้ยา

1.4.4.1. ใช้รักษาอาการทางจิต โรคจิตเภท

1.4.5. กลไกการออกฤทธิ์

1.4.5.1. ยาออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของ domine โดนจับกับ receptor ของ dopamine ในสมอง เป็นยาที่มีฤทธิ์ต่ำ เริ่มออกฤทธิ์หลังรับประทาน 30-60นาที ระยะเวลาออกฤทธิ์นาน 2-4 ชม. สรรพคุณ รักษาโรคจิตเภพ สงบอาการกระวนกระวาน ก้าวร้าว

1.4.6. สรรพคุณ

1.4.6.1. รักษาโรคจิตเภพ สงบอาการกระวนกระวาน ก้าวร้าว

1.4.7. ผลข้างเคียงของยา

1.4.7.1. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ฟากแห้ว คอแห้ง ตาพร่า ท้องผูก ใจสั่น ปัสสาวะลำบาก ง่วงนอน ความดันต่ำ

1.4.8. แนวทางการพยาบาล

1.4.8.1. ประคับประคองตามอาการ - แนะนำให้จิบน้ำ ดื้มน้ำมากๆ บ้วนปากบ่อยๆ รักษาความสะอาด - ถ้าตาพร่า แนะนำให้ใส่แว่นกันแดด เมื่ออยู่ในที่สว่างมาก - หากมีอาการท้องผูก แนะนำให้ออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีกากใย - ตรวจวัดความดันโลหิตสม่ำเสมอ แนะนำให้ผู้ป่วยค่อยๆ เปลี่ยนอิริยาบถ เพื่อลดอาการหน้ามืด

2. 2. กลุ่มยารักษาอาการชัก (Anticonvulsant Drugs)

2.1. Encorate chrono (200) 1 x hs

2.1.1. ชื่อสามัญ

2.1.1.1. Sodium Valproate

2.1.2. ชื่อทางการค้า

2.1.2.1. Depakine

2.1.3. กลุ่มยา

2.1.3.1. ยารักษาอาการชัก (Anticonvulsant Drugs)

2.1.4. เหตุผลที่ใช้ยา

2.1.4.1. ​เนื่องผู้ป่วยมีภาวะอารมณ์แปรปรวน และหงุดหงิดง่าย จึงให้ยากลุ่มรักษาอาการชักเพื่อปรับสมดุลของสารสื่อประสาทภายในสมอง

2.1.5. กลไกการออกฤทธิ์

2.1.5.1. ​เพิ่มระดับ GABA ในสมองให้สูงขึ้น

2.1.6. สรรพคุณ

2.1.6.1. ​- รักษาภาวะลมชัก ​- รักษาอาการอารมณ์แปรปรวน (Mania) ​- รักษาอาการปวดศีรษะ (Migraine prophylaxis

2.1.7. ผลข้างเคียงของยา

2.1.7.1. ​ง่วงซึม สั่น เวียนศีรษะ ตากระตุก ผมร่วง คลื่นไว้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง ท้องอืด เบื่ออาหาร มองเห็นภาพซ้อน

2.1.8. แนวทางการพยาบาล

2.1.8.1. 1. ดูแลให้ผู้ป่วยกลืนยาทั้งเม็ด ห้ามบด เคี้ยว และทำให้แตก ​2. ดูแลให้รับประทานยายาพร้อมอาหารเพื่อลดการระคายเคืองกระเพาะอาหาร 3.ห้ามปรับเปลี่ยนขนาดยาและเวลารับประทานยาด้วยตนเอง

3. 4.ยากลุ่ม (anticholinergic or antiparkinson)

3.1. Aca : Trihexyphenidyl (Benzhexol)

3.1.1. ชื่อสามัญ

3.1.2. ชื่อทางการค้า

3.1.3. กลุ่มยา

3.1.3.1. anticholinergic or antiparkinson

3.1.4. เหตุผลที่ใช้ยา

3.1.4.1. เนื่องจากคนไข้มีการใช้ยาจิตเภทหลายชนิดและมีอาการกระวนกระวายไม่หยุดนิ่งจึงได้รับยานี้เพื่อควบคุมอาการดังกล่าว

3.1.4.2. trihexyphenidyl ออกฤทธิ์ปิดกั้นตัวรับ acetylcholine ทำให้ acetylcholine ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้

3.1.5. กลไกการออกฤทธิ์

3.1.6. สรรพคุณ

3.1.6.1. ควบคุม extra-pyramidal symptoms(EPS) รักษาอาการกระวนกระวาย ไม่หยุดนิ่ง

3.1.7. ผลข้างเคียงของยา

3.1.7.1. ความสับสน ความจำเสื่อม ความหลงผิด คลื่นไส้ เวียนหัว มองเห็นภาพซ้อน ปากแห้ง ผื่น

3.1.8. แนวทางการพยาบาล

3.1.8.1. 1.สังเกตอาการข้างเคียงจากการใช้ยาเช่น ง่วงซึม ตาพร่า หัวใจเต้นเร็ว ปัสสาวะไม่ออก ปากแห้ง เป็นต้น 2.ถ้าหากมีอาการผิดปกติรีบแจ้งแพทย์ทันที

4. 3.ยารักษาอาการเศร้า (Antidepressant drugs)

4.1. Fluoxetine (20) OD. pc

4.1.1. ชื่อสามัญ

4.1.1.1. Fluoxetine

4.1.2. ชื่อทางการค้า

4.1.2.1. Anzac, Atd-20, Dawnex, Deproxin, Flulox 20, Flumed, Fluoxine, Oxsac, Prodep, Prozac 20, Unprozy, Xetin

4.1.3. กลุ่มยา

4.1.3.1. ยารักษาอาการเศร้า (Antidepressants Drugs)

4.1.4. เหตุผลที่ใช้ยา

4.1.4.1. ​เนื่องผู้ป่วยมีอาการภาวะ low-self extreme จึงให้ยากลุ่มต้านเศร้าเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า ซึ่งยาตัวนี้จะออกฤทธิ์ใน 2-3 สัปดาห์

4.1.5. กลไกการออกฤทธิ์

4.1.5.1. ยับยั้งหรือต้าน 5-HT uptake มี affinity ต่อ 5-HT2 receptor ค่อนข้างสูง จึงออกฤทธิ์ทำให้เบื่ออาหารในช่วงแรก และมีฤทธิ์กระตุ้นสูงกว่า SSRIs ชนิดอื่น โดยอาจพบอาการวิตกกังวล กระวนกระวาย นอนไม่หลับ ผลของยาช้ากว่า SSRIs ชนิดอื่นจากการที่มีครึ่งชีวิต (half life) ยาว โดยอาจเห็นผลในสัปดาห์ที่ 2-3

4.1.6. สรรพคุณ

4.1.6.1. ​- รักษาภาวะซึมเศร้า (depression) ​- รักษาโรคย้ำคิดย้ำทำ (obsessive-compulsive disorder) ​- รักษาอาการตื่นตระหนกเฉียบพลัน (panic attacks) ​- รักษาโรคการกินผิดปกติ (eating disorder) ​- ช่วยบรรเทาอาการต่าง ๆ จากอาการก่อนมีปะจำเดือน (premenstrual dysphonic disorder)

4.1.7. แนวทางการพยาบาล

4.1.7.1. 1. ติดตามผลข้างเคียง และติดตามไม่ให้ผู้ป่วยไม่ให้เกิดอันตรายจากอาการ มึนงง หลงลืม หากมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนให้รับประทานอาหารทีละน้อย แต่บ่อยครั้ง ชั่งน้ำหนักเพื่อประเมินน้ำหนัก ​2. หากมีอาการผื่นคัน ชัก คัน มีไข้ น้ำหนักลดมาก ให้รีบแจ้งแพทย์ทันที

4.2. ผลข้างเคียงของยา

4.2.1. ปวดศีรษะ หลงลืม วิตกกังวล มือสั่น มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปากแห้ง เบื่ออาหาร ท้องผูก การรับรสเปลี่ยน คอแดง ปวดประจำเดือน ผื่น เหงื่อออกมาก น้ำหนักลด มีไข้