ต้นแบบการศึกษาของประเทศเยอรมันนี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ต้นแบบการศึกษาของประเทศเยอรมันนี by Mind Map: ต้นแบบการศึกษาของประเทศเยอรมันนี

1. จุดเด่นของการศึกษา

1.1. การไม่ยึดติดว่าจะต้องออกไปเรียนมหาวิทยาลัยทุกคน

1.2. ให้ความสำคัญกับการเรียนระดับอาชีวะที่เป็นกำลังสำคัญของอุตสาหกรรมในประเทศ

2. ระบบการศึกษาของเยอรมันนี (Bildung in Deutschland)

2.1. การศึกษาในวัยก่อนเข้าโรงเรียน

2.1.1. เด็กจะเข้าเรียนหรือไม่เข้าเรียนก็ได้ อายุตั้งแต่ 3ปี - 6ปี

2.1.2. โรงเรียนอนุบาล เรียกว่า คินเดอร์การ์เท็น (Kindergarten)

2.2. การศึกษาระดับประถม

2.2.1. เป็นการศึกษาภาคบังคับ เด็กอายุ 6 ปี จะต้องเข้าโรงเรียนในเขตที่ตนเองพำนักอยู่

2.2.2. โรงเรียนประถม เรียกว่า กรุนชูเล (Grundschule)

2.3. การศึกษาระดับมัธยม

2.3.1. มัธยมสายการช่าง Secondary General School (Hauptschule)

2.3.1.1. เป็นโรงเรียนมัธยมต้นแบบกลางๆ มีทั้งวิชาสายอาชีพและวิชาสายสามัญ ให้เลือกเรียน เรียนทั้งหมด 5-9 ปี

2.3.2. มัธยมสายสามัญ Intermediate School (Realschule)

2.3.2.1. เมื่อจบจะได้ใบประกาศนียบัตร(Mittlere Reife) เพื่อไปเรียนต่อในโรงเรียนอาชีวศึกษาระดับกลางและสูงต่อไป เหมาะแก่ผู้ที่ต้องการมีอาชีพทางด้านธุรกิจหรือบริการ เช่น อาชีพค้าขาย ศิลปาชีพ และเครื่องยนต์ใหญ่

2.3.3. มัธยมสายวิสามัญ Grammar School (Gymnasium)

2.3.3.1. ป็นโรงเรียนมัทธยมต้นที่เน้นที่เน้นการสอนสายสามัญ อย่างลึกซึ้งเพื่อจะไปศึกษาต่อขั้นอุดมศึกษา(วิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย)

2.3.3.2. สำหรับเด็กที่จบจาก Gymnasium ในการเรียนมัทธยมต้น สามารถศึกษาต่อในระดับมัทธยมปลาย (Sekundarstufe II)ได้ และเมื่อจะได้วุฒิการศึกษาที่เรียกว่า Abitur (อาบิทัว) ผู้ที่มีวุฒิการศึกษา Abitur จะมีสิทธิสอบเข้าสถาบันอุดมศึกษา และมหาวิทยาลัยได้ทุกแห่ง

2.3.4. มัธยมผสม Comprehensive School (Gesamtschule)

2.3.4.1. เป็นโรงเรียนมัทธยมต้นที่ใช้ระบบร่วมคือ ร่วมเอา มัธยมสายการช่างมัธยมสายสามัญและมัธยมสายวิสามัญเข้าด้วยกันทั้งในด้านแผนการเรียนการสอนและการจัดระบบการสอน

2.4. การเรียนสายอาชีพ

2.4.1. การฝึกงานวิชาชีพ(Ausbildung)นั้น ไม่ว่าจะจบจากโรงเรียนระดับมัทธยมต้นประเภทใดก็สามารถฝึกได้

2.4.2. ในการเรียนจะแบ่งเป็นเรียนที่โรงเรียน 40 เปอร์เซ็น และที่บริษัทหรือโรงงานที่ฝึกงาน 60 เปอร์เซ็น

2.4.3. ระหว่างฝึกงานผู้ฝึกงานที่เรียกว่า เลร์ลิง (Lehrling) ฝึกงานอย่างน้อยไม่ต่ำกว่า 6 ชม. ต่อวัน และจะได้รับเงินค่าตอบแทนจากนายจ้างด้วย

2.5. โรงเรียนพิเศษ (Sonderschule, Foerderzentrum)

2.5.1. การศึกษาภาคบังคับมีผลบังคับสำหรับเด็กพิการด้วย โรงเรียนพิเศษสำหรับเด็กที่มีปัญหา

2.6. ระดับอุดมศึกษา

2.6.1. University

2.6.1.1. มหาวิทยาลัยทั่วไป ที่เน้นการเรียนการสอนทางด้านทฤษฏี ในหลักสูตรทางด้าน แพทยศาสตร์, นิติศาสตร์, มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์

2.6.2. Fachhochschule

2.6.2.1. มีชื่อภาษาอังกฤษว่า University of Apply Science เป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นในทางปฎิบัติมากกว่าทางทฤษฏี โดยจะสอนเพื่อนำองค์ความรู้ไปใช้ในอุตสาหกรรม มากกว่าการทำวิจัย

2.6.3. Paedagogische Hochschule

2.6.3.1. วิทยาลัยครู

2.6.4. Gesamthochschule

2.6.4.1. รวมเอา Universitaet และ Fachhochschule รวมกันไว้ในสถาบันเดียว

2.6.5. Gesamthochschule

2.6.5.1. วิทยาลัยศิลปะ

3. การปฏิรูปการศึกษา

3.1. การพัฒนาระบบการศึกษาให้เป็นระบบที่มีคุณภาพสูงสุด พลเมืองภายในประเทศทุกคนมีสิทธิที่จะเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเท่าเทียนมกัน

3.2. พัฒนาระบบการศึกษา หลักสูตรการศึกษา มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมและเผยแพร่ประชาธิปไตยให้แกสถาบันการศึกษาทั่วประเทศอย่างพร้อมเพรียงกัน

3.3. มีเป้าหมายเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

3.4. ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพครูภายในประเทศ

4. ข้อดีของการศึกษาเยอรมันนี

4.1. มหาวิทยาลัยรัฐบาลไม่ต้องเสียค่าเทอม

4.1.1. การศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศเยอรมนี ได้รับการยกเว้นการเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาหรือค่าเทอม ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษาในประเทศหรือจากต่างประเทศ

4.2. มีสถาบันที่ได้รับการยอมรับและคณาจารย์ที่มีความสามารถ

4.2.1. มุ่งเน้นพัฒนาในเรื่องของนวัตกรรมและการร่วมมือระหว่างนานาชาติ เรียกได้ว่าเป็นการศึกษาระดับเวิร์ลคลาส

4.3. วุฒิปริญญามาตรฐานสากล

4.3.1. ระดับปริญญาตรี

4.3.1.1. ระยะเวลาเรียนทั้งสิ้น 6 ภาคการศึกษา

4.3.2. ระดับปริญญาโท

4.3.2.1. 2-4 ภาคการศึกษา ขึ้นอยู่กับโปรแกรม

4.3.3. ระดับปริญญาเอก

4.3.3.1. 4-6 ภาคการศึกษา ขึ้นอยู่กับโปรแกรม

4.4. โปรแกรมการเรียนการสอนภาคภาษาอังกฤษ

4.4.1. นอกจากการเรียนการสอนในภาษาเยอรมันที่ฟรีแล้ว คุณก็จะได้เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มเติม

4.5. โอกาสที่ดีในการหางาน