การคัดลายมือ,การเขียนเรียงความและชีวประวัติ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การคัดลายมือ,การเขียนเรียงความและชีวประวัติ by Mind Map: การคัดลายมือ,การเขียนเรียงความและชีวประวัติ

1. การเขียนบทความ

1.1. วัตถุประสงค์ของการเขียนบทความ

1.1.1. 1. เพื่ออธิบาย มีลักษณะเป็นการให้ข้อมูล ให้ภูมิหลัง และข้อเท็จจริงอย่างละเอียด

1.1.2. 2. เพื่อรายงานหรือกระตุ้นความสนใจ

1.1.3. 3. เพื่อให้ความรู้ การแสดงความคิดเห็นของบทความนี้

1.1.4. 4. เพื่อเสนอแนวทางแก้ไข

1.1.5. 5. เพื่อโน้มน้าวใจ เป็นบทความที่ผู้เขียนต้องการโน้มน้าวให้เกิดการคล้อยตามความคิดเห็นในเรื่องที่กำลังนำเสนอ

1.1.6. 6. เพื่อวิเคราะห์หรือวิจารณ์ โดยอ้างเหตุผลที่น่าเชื่อถือประกอบการวิเคราะห์อย่างรอบด้าน

1.1.7. 7. เพื่อความเพลิดเพลิน เพื่อสร้างอารมณ์ขันด้วยลีลาภาษาที่ไม่เป็นทางการ เกินไป

1.2. ประเภทบทความ

1.2.1. 1. บทความแนะนำวิธีปฏิบัติ

1.2.2. 2. บทความแสดงความคิดเห็นทั่วไป

1.2.3. 3. บทความเชิงวิชาการ

1.2.4. 4. บทความวิเคราะห์

1.3. โครงสร้างการเขียนบทความ

1.3.1. 1. ชื่อเรื่อง

1.3.2. 2. ความนำ

1.3.3. 3. เนื้อเรื่อง

1.3.4. 4.บทสรุปหรือบทลงท้าย

2. สมาชิก

2.1. ด.ช.พัชรพล แสงหิรัญ เลขที่20

2.2. ด.ช.ชนาธิป ทำการดี เลขที่22

2.3. ด.ช.พีรณัฐ โลหิตโยธิน เลขที่38

3. อัตชีวประวัติ นั้น เป็นคำนาม มาจากคำว่า อัต ชีว และ ประวัติ หมายถึง ประวัติชีวิตที่เจ้าของเขียนหรือเล่าด้วยตนเอง ****เช่น การทำงานก็เป็นชีวประวัติได้หากครอบคลุมช่วงชีวิตของบุคคลนั้น เช่น ชีวประวัติการทำงาน โดยปกติจะเป็นงานเขียนที่ได้จากเรื่องจริง แต่บางครั้งก็สามารถใช้บันเทิงคดีในการนำเสนอชีวิตของบุคคลได้ หนึ่งในรูปแบบการเขียนจะชีวประวัติจะครอบคลุมไปถึงการเขียนที่สืบทอดมาจากคนรุ่นก่อน รวมทั้งชีวประวัติในวรรณกรรม ภาพยนตร์ และสื่อรูปแบบอื่น ๆ

4. การคัดลายมือ

4.1. ลายมือ คือ ตัวหนังสือเขียน ที่มีลักษณะแสดงว่า เป็นของผู้ใดผู้หนึ่งโดยเฉพาะ

4.2. ประโยชน์ของการคัดลายมือ

4.2.1. ทำให้ผู้คัดเขียนหนังสือได้สวยงาม

4.2.2. ฝึกให้รู้จักรักษาความสะอาด

4.2.3. ฝึกเขียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย

4.3. การคัดลายมือให้ถูกวิธีควรปฏิบัติ ดังนี้

4.3.1. 1.) นั่ง วางสมุด และจับดินสอด้วยท่าทางที่ถูกต้อง

4.3.2. 2.) ตั้งใจและมีสมาธิในการคัด

4.3.3. 3.) เขียนตัวอักษรถูกต้องตามแบบการเขียนอักษรไทย

4.3.4. 4.) เขียนพยัญชนะจรดเส้นบรรทัดบน-ล่าง

4.3.5. 5.) เว้นระยะช่องไฟให้เทากันและสม่ำเสมอ

4.3.6. 6.) วางรูปพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ให้ถูกตำแหน่ง

5. ชีวประวัติ

5.1. คือ งานเขียนชนิดหนึ่งที่กล่าวถึงเรื่องราวของบุคคลในช่ว'ชีวิต ของบุคคล บุคคลหนึ่ง ไม่เพียงแต่ กล่าวถึง วันเกิด อาชีพ การศึกษา แต่จะมีการเล่าถึงเรื่องราวของแต่ละช่วงชีวิต และเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในชีวิต ทั้งนี้หากเป็นประวัติของผู้เขียนเอง จะนิยมเรียกว่า อัตชีวประวัติ

5.2. ชีวประวัติ เป็นคำนาม มาจากคำว่า ชีวิต และ ประวัติ หมายถึง ประวัติชีวิตบุคคล ***ชีวประวัติ เป็นงานเขียนประเภทหนึ่งที่เป็นการนำเสนอข้อมูลและเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลอื่น โดยปกติจะนำเสนอในรูปแบบของหนังสือหรือบทความ บางครั้งอาจนำเสนอในรูปแบบของภาพยนตร์ก็ได้ ซึ่งองค์ประกอบของชีวประวัตินั้น อาจนอกเหนือไปจากข้อมูลส่วนบุคคล อาทิ การศึกษา การทำงาน ความสัมพันธ์ หรือ การเสียชีวิต ก็ได้ โดยลักษณะของชีวประวัติจะไม่เหมือนกับประวัติโดยย่อ หรือประวัติส่วนตัวโดยสังเขป ทั้งนี้อาจเป็นการนำเสนอเรื่องราวประสบการณ์ มุมมองของบุคคล รวมทั้ง เกร็ดต่าง ๆ ในชีวิต และการวิเคราะห์บุคลิกลักษณะของบุคคล