การพัฒนาการคิด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพัฒนาการคิด by Mind Map: การพัฒนาการคิด

1. สิ่งที่นักคิดควรจำแนกได้

1.1. ความจริง (truth) กับ ความเชื่อ (belief)

1.1.1. ความจริง

1.1.1.1. สภาวะที่เป็นอยู่จริงของสิ่งต่างๆ

1.1.1.2. พิสูจน์ได้ด้วยหลักฐาน

1.1.2. ความเชื่อ

1.1.2.1. ความรู้สึกมั่นใจและไว้วางใจในบางสิ่งบางอย่าง

1.1.2.2. ความเชื่ออาจเปลี่ยนเป็นความจริงได้ถ้าพิสูจน์ได้อย่างชัดเจน

1.2. ข้อเท็จจริง (fact) กับ ข้อคิดเห็น (opinion)

1.2.1. ข้อเท็จจริง

1.2.1.1. สิ่งที่รับรู้โดยทั่วไปและพิสูจน์ได้ว่าสิ่งนั้นขึ้นเกิดขึ้นและมีอยู่จริง

1.2.2. ข้อคิดเห็น

1.2.2.1. ข้อสรุปตามทัศนะของบุคคลเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้น

1.3. การกล่าวอ้าง (allusion หรือ assertion) กับ หลักฐาน (evidence)

1.3.1. การกล่าวอ้าง

1.3.1.1. คำพูดของคนที่อยู่ในเหตุการณ์

1.3.1.2. คำบอกเล่า

1.3.1.3. ความคิดเห็นของคนที่น่าเชื่อถือตามความคิดของผู้กล่าวอ้าง

1.3.2. หลักฐาน

1.3.2.1. เครื่องแสดงประกอบเพื่อยืนยัน

1.3.2.2. สิ่งที่ใช้พิสูจน์ความถูกต้องหรือความจริง

1.4. ความคุ้นเคย (familiarity) กับ ความสมเหตุสมผล (reasonability หรือ validity)

1.4.1. ความคุ้นเคย

1.4.1.1. การที่เคยเห็น เคยทำบ่อย ๆ จนเกิดเป็นความเคยชิน

1.4.2. ความสมเหตุสมผล

1.4.2.1. การมีเหตุผลสมควร

2. สุนทรียสนทนา

2.1. ความหมาย

2.1.1. การไหลเวียนของคำและประโยคในวงสนทนาของบุคคลที่ถือว่าเป็นกัลยาณมิตรของกันและกัน

2.2. แนวทางปฏิบัติในวงสุนทรียสนทนา

2.2.1. ฟังอย่างลึกซึ้ง

2.2.2. มีความอิสระ

2.2.3. ให้เกียรติทุกคนในวงสนทนาว่าทุกคนมีความเท่าเทียมกัน

2.3. หลักการจัดวงสุนทรียสนทนา

2.3.1. เข้าใจแนวคิดและปรัชญาของการสนทนาในครั้งนั้นให้ชัดเจน

2.3.2. เป็นกัลยาณมิตรกับทุกคน

2.3.3. รู้เท่าทันและติดตามความรู้สึกของตน

2.3.4. การจัดวงสุนทรียสนทนา

2.3.4.1. Setting

2.3.4.2. Process

2.3.4.3. Ends

2.3.4.4. Attitude

2.3.4.5. Key Actor

2.3.4.6. Instrument

2.3.4.7. Norms of Interaction

2.3.4.8. Genre