คุณภาพชีวิตและการปรับตัวของแรงงานต่างด้าวในยุคโลกาภิวัฒน์จังหวัดสมุทรสาคร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
คุณภาพชีวิตและการปรับตัวของแรงงานต่างด้าวในยุคโลกาภิวัฒน์จังหวัดสมุทรสาคร by Mind Map: คุณภาพชีวิตและการปรับตัวของแรงงานต่างด้าวในยุคโลกาภิวัฒน์จังหวัดสมุทรสาคร

1. แนวคิดการย้ายถิ่นของแรงงาน

1.1. สภานการณ์การย้ายถิ่นของแรงงานต่างด้าว

1.1.1. นโยบายหลักในการจัดการแรงงานในประชาคมอาเซียน

1.1.2. กฎหมายและสิทธิแรงงานต่างด้าว

1.2. แนวคิดการย้ายถิ่น Rawenstein E.G.1885

1.2.1. การย้ายถิ่นระหว่างชนบทกับชุมชนเมือง และประเทศปลายทาง

1.2.1.1. แนวคิดของ Everett S. Lee

1.2.2. แนวคิดของ UN

1.2.2.1. นโยบายบูรณาการของแรงงานข้ามชาติ

1.2.2.2. การจัดตั้งองค์กรบูรณาการทางสังคม

1.2.2.2.1. พัฒนาความรู้ทางภาษา

2. แนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัว

2.1. นักคิด

2.1.1. Roy's Andrews 1999

2.2. องค์ประกอบในการปรับตัว

2.2.1. ปัจจัยภายใน

2.2.2. ปัจจัยภายนอก

2.2.2.1. สภาพแวดล้อม

2.2.2.2. กฎหมาย และเศรษฐกิจ

2.3. แนวคิดการปรับตัวในการทำงาน

2.3.1. นักคิด

2.3.1.1. Dawes and Lofquist 1984

2.4. แนวคิดการปรับตัวของแรงงานต่างด้าว

3. แนวคิดเกี่ยวกับโลกาภิวัฒน์

3.1. แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน

3.1.1. UN

3.2. แนวคิดความทันสมัย

3.3. แนวคิดการว่าจ้างการทำงาน

3.3.1. ประเภทแรงงาน

3.3.2. องค์ประกอบการจ้างแรงงาน

3.4. แนวคิดของ Wold Bank

3.4.1. แนวคิดของ Jonh Grey

3.4.2. โลกาภิวัฒน์ด้านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ

4. แนวคิดคุณภาพชีวิต

4.1. แนวคิดคุณภาพชีวิตการทำงาน

4.1.1. นักคิด Richard E.Walton1975

4.1.2. องค์กรอนามัยโลก Who

4.1.3. สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

4.2. องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต

4.2.1. ด้านกายภาพ

4.2.2. ด้านสังคม

4.2.3. ด้านจิตวิทยา

5. สถานการณ์และสภาพปัญหาของแรงงานในอาเซียน

5.1. สาฐารณะรัฐแห่งสหภาพเมียนมา

5.2. แรงงานไร้ฝีมือ , แรงงานกึ่งไร้ฝีมือ

5.3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

5.3.1. ราชอาณาจักรไทย

5.3.1.1. MOU

5.4. สถานการณ์แรงงานในสิงค์โปร์