ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ by Mind Map: ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

1. บทที่ 4 :ความสำคัญ บทบาท คุณค่าของสารสนเทศ”

1.1. พฤติกรรมสารสนเทศ🏃‍♀️

1.1.1. ทำไมบุคคลจึงต้องการสารสนเทศ

1.1.1.1. เพราะผู้คนเกิดช่องว่างความรู้ ขาดสารสนเทศที่เข้ามาใช้ปิดช่องว่างนั้น จึงต้องมีสารสนเทศเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจซึ่งจะนำไปสู้ผลลัพท์ที่ปราถนา

1.1.2. ระดับความต้องการ

1.1.2.1. พื้นฐานของมนุษย์

1.1.2.1.1. ด้านร่างกาย

1.1.2.1.2. ด้านอารมณ์

1.1.2.1.3. ด้านปัญญา

1.1.2.2. สารสนเทศ

1.1.2.2.1. ที่เกิดจาก สัญชาตญาณ

1.1.2.2.2. ที่ตระหนักได้

1.1.2.2.3. ที่แสดงออก

1.1.2.2.4. ที่ปรับตามสารสนเทศ

1.1.3. วัตถุประสงค์ของความต้องการ และการใช้สารสนเทศ

1.1.3.1. เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น

1.1.3.2. เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ

1.1.3.3. เพื่อศึกษาและพัฒนาทั้งในส่วนตนและสังคม

1.1.3.4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานหรือการบริหารงาน

1.1.3.5. เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตส่วนตัวและการงาน

1.1.3.6. เพื่อสนับสนุนการค้นคว้าวิจัยให้มีประสิทธิภาพ

1.1.4. ลักษณะสารสนเทศที่บุคคลต้องการใช้

1.1.4.1. เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้

1.1.4.2. ได้มาด้วยความสะดวก

1.1.4.3. มีลักษณะสอดคล้องกับค่านิยม ความเชื่อ และทัศนคติของบุคคล

1.1.4.4. มีลักษณะเฉพาะ ตอบสนองความต้องการเฉพาะอย่างของบุคคลได้

1.1.4.5. มีความหลากหลาย ถูกต้อง และครบถ้วน

1.1.5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสวงหา และการใช้สารสนเทศ

1.1.5.1. “ด้านอาชีพและหน้าที่การงานของบุคคล”

1.1.5.1.1. หน้าที่ กระบวนการทำงานของแต่ละสายอาชีพ

1.1.5.1.2. ลักษณะสภาพแวดล้อมในการทำงาน

1.1.5.1.3. ต้องการให้เกิดการยอมรับในตนเอง สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

1.1.5.2. “ด้านลักษณะทางประชากรของบุคคล”

1.1.5.2.1. เพศ อายุ

1.1.5.2.2. รายได้ ระดับการศึกษา

1.1.5.2.3. ความเชื้อ ศาสนา เชื้อชาติ

1.1.5.3. “ด้านลักษณะทางจิตวิทยาของบุคคล”

1.1.5.3.1. รูปแบบการดำเนินชีวิต

1.1.5.4. “ด้านสารสนเทศ”

1.1.5.4.1. เข้าถึงได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ครบถ้วน

1.1.5.4.2. ค่าใช้จ่าย

1.1.5.4.3. คุณภาพและประโยขน์มที่ได้รับ

1.1.6. พฤติกรรมแสวงหาสารสนเทศ

1.1.6.1. 1.การตั้งใจที่ตนมิได้ริเริ่ม (Passive Attention)

1.1.6.1.1. การได้รับสารสนเทศจากสื่อต่างๆเองโดยไม่ได้ตั้งใจ รับรู้ผ่านๆ

1.1.6.2. 2.การค้นโดยตนมิได้ริเริ่ม (Passive Search)

1.1.6.2.1. ค้นหาอีกอย่างหนึ่งแต่ค้นเจอสารสนเทศอีกอย่างโดยไม่ได้ตั้งใจ

1.1.6.3. 3.การค้นที่ตนริเริ่ม (Active Search)

1.1.6.3.1. มุ่งค้นหาสารสนเทศนั้นด้วยตนเอง

1.1.6.4. 4.การค้นที่ดำเนินการอยู่ (Ongoing Search)

1.1.6.4.1. การแสวงหาเพิ่มเติมที่มีความเฉพาะด้าน

1.1.7. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

1.1.7.1. 1. ตระหนักและ ยอมรับปัญหา สารสนเทศ

1.1.7.1.1. ยอมรับว่าตนเองมีปัญหา

1.1.7.2. 2. เข้าใจและ ให้นิยามปัญหา

1.1.7.2.1. เข้าใจและรู้ว่าปัญหาคืออะไร

1.1.7.3. 3. เลือกระบบค้นหา สารสนเทศ

1.1.7.3.1. เลือกค้นระบบสารสนเทศตามความเหมาะสม

1.1.7.4. 4. คิดสูตรการค้น

1.1.7.4.1. วางแผนการค้นหา

1.1.7.5. 5. การค้นหา สารสนเทศ

1.1.7.5.1. ค้นหาข้อมูล

1.1.7.6. 6. ตรวจสอบผลลัพธ์

1.1.7.6.1. ตรวจสอบว่าผลการต้นหาตรงตามที่ต้องการหรือไม่

1.1.7.7. 7. กลั่นกรอง สารสนเทศ

1.1.7.7.1. กลั่นกรองข้อมูล

1.1.7.8. 8. ย้อนกลับ / ย้ า / หยุด

1.1.7.8.1. ตรวจสอบหลายๆรอบและจบการแสวงหาสารสนเทศ

1.1.8. พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ

1.1.8.1. ความต้องการ สารสนเทศ

1.1.8.1.1. แหล่งสารสนเทศ ที่ใช้ค้น

1.1.9. อุปสรรคและปัญหา ของการแสวงหาสารสนเทศ

1.1.9.1. ตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ

1.1.9.1.1. มีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคล เช่น ประสบการณ์ ความต้องการ

1.1.9.2. วิธีการและกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

1.1.9.2.1. ใช้เทคนิค กลยุทธ์ ช่องทางในการค้นหาต่างกัน

1.2. ความสำคัญของสารสนเทศ👍🏻

1.2.1. “การดำรงชีวิตประจำวัน”

1.2.1.1. ทุกคนล้วนแต่อาศัยสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ

1.2.1.2. ช่วยให้มีทักษะในการแก้ปัญหา ตอบคำถามที่มีประสิทธิภาพ (Effectively) และก่อให้เกิดประสิทธิผล (Efficiently)

1.2.1.3. ช่วยให้มีทักษะด้านเทคโนโลยีเพื่อสืบค้นข้อมูล

1.2.1.4. ช่วยให้รู้จักการวิเคราะห์ (Analyse) และประเมินค่าสารสนเทศ (Evaluate)

1.2.2. "สังคม"

1.2.2.1. “Information is power” สารสนเทศคืออำนาจ

1.2.2.2. มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม

1.2.2.3. เพื่อพัฒนาประเทศโดยส่วนรวม

1.2.2.4. เพื่อความก้าวหน้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

1.2.2.5. เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

1.3. บทบาทของสารสนเทศ

1.3.1. "ด้านการค้า"

1.3.1.1. การดำเนินการค้าขึ้นอยู่กับการเผยแพร่สารสนเทศ

1.3.1.2. การซื้อขาย การตอบข้อความ รีวิวสินค้า

1.3.1.3. สะดวก รวดเร็ว

1.3.2. "ด้านการศึกษา"

1.3.2.1. สนับสนุนให้จัดตั้งห้องสมุดและศูนย์กลางให้บริการสารสนเทศ

1.3.2.2. ใช้ประกอบการสอน การแปลหนังสือ

1.3.2.3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ

1.3.3. "ด้านการเมืองการปกครอง"

1.3.3.1. สนับสนุนให้ประชาชนเกิดความเข้าใจในระบอบการปกครอง

1.3.3.2. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงนโยบาย ระบบการปฏิบัติงานของราชการ

1.3.4. "ด้านอุตสาหกรรม"

1.3.4.1. ผู้ประกอบการ ต้องศึกษาข้อมูลให้ลึกซึ้ง

1.3.4.2. การถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม

1.3.5. "ด้านวัฒนธรรม"

1.3.5.1. รักษาเอกลักษณ์ของชาติ ตระหนักในศักดิ์ศรีใน ความเป็นชาติ และส่งผลให้เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ

1.3.5.2. ช่วยพัฒนาจิตใจ ให้มีส่วนเกื้อกูลในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

1.4. ประโยชน์ของสารสนเทศ

1.4.1. พัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน

1.4.2. ลดความผิดพลาดในการตัดสินใจ

1.4.3. ส่งเสริมการศึกษา ค้นคว้า และลดค่าใช้จ่ายจากการทำวิจัยซ้ำซ้อน

1.5. คุณค่าของสารสนเทศ

1.5.1. ปัจจัย 4 ประการ”

1.5.1.1. 1.เวลา (Time) : รวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และความต้องการในการใช้งาน

1.5.1.2. 2. ความถูกต้อง (Accuracy) : ต้องชัดเจน ปราศจากความคลุมเคลือ ความผิดพลาด สามารถพิสูจน์ได้ ไม่มีการแต่งเติม จนส่งผลต่อความรู้สึกของผู้ใช้

1.5.1.3. 3. ความครบถ้วน (Completeness) : ครบถ้วน ไม่ขาดหาย และไม่ถูกบิดเบือนจากความจริง มีปริมาณเพียงพอต่อความต้องการในการใช้งาน

1.5.1.4. 4. ความต่อเนื่อง (Continuation) : มีลักษณะการสะสมของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เป็นเนื้อหาเดียวกัน

1.6. พัฒนาการของสารสนเทศ

1.6.1. “คลื่นที่ 1 : ยุควัติทางการเกษตรกรรม (Agricultural Revolution)”

1.6.1.1. ประมาณ 8,000 ปีก่อนคริสกาล – ค.ศ. 1750

1.6.1.2. มีความเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ

1.6.1.3. มักตามประเพณีนิยม ตามคนอื่น

1.6.1.4. ถ่ายทอดจากครอบครัว ชุมชนหมู่บ้าน

1.6.1.5. มักเป็นคำพูดบอกเล่าต่อๆกันมา

1.6.2. “คลื่นที่ 2 : ยุควัติทางอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)”

1.6.2.1. ค.ศ. 1750 – ค.ศ. 1950

1.6.2.2. หนังสือ วารสาร สื่อสารสนเทศด้านสื่อมวลชน

1.6.2.3. พัฒนาด้านสื่อมวลชนเป็นหลัก

1.6.3. ค.ศ. 1950 – ปัจจุบัน

1.6.4. “คลื่นที่ 3 : ยุคเทคโนโลยีระดับสูง (High Technology Civilization)”

1.6.4.1. ยุคแห่งสังคมข่าวสาร : มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

1.6.4.2. ยุคแห่งอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ : เกิดสื่อใหม่ๆ ท าให้สภาพสังคมคล้ายกันทุกที่

1.6.4.3. สะดวกรวดเร็วขึ้น

2. “บทที่ 5 : ประโยชน์ของ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ”

2.1. จากข้อมูลสารสนเทศสู่การพัฒนาความรู้

2.1.1. สังคมเกษตรกรรม

2.1.1.1. แข่งขันกับธรรชาติ

2.1.1.2. เทคโนโลยียังไม่พัฒนาจึงมีการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ จับสัตว์น้ำ

2.1.1.3. กล่าวได้ว่า "อารยธรรมการเพาะปลูก"

2.1.2. สังคมอุตสาหกรรม

2.1.2.1. ยุคการแข่งขันกับธรรมชาติที่มนุษย์ได้เข้าไปปรุงแต่ง

2.1.2.2. รู้จักการแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่างๆ

2.1.2.2.1. แปรรูปสิ่งประดิษฐ์

2.1.2.3. "การพยายามให้ตนมีอิทธิพลเหนือธรรมชาติ"

2.1.3. สังคมข่าวสาร

2.1.3.1. ให้ความสำคัญต่อ "ข่าวสาร" มากขึ้น

2.1.3.2. "ข่าวสารคืออำนาจ"

2.1.4. “ยุคเศรษฐกิจแห่งปัญญาและการเรียนรู้”

2.1.4.1. Knowledge-Based Economy

2.1.4.2. มีทุนคือ "ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร"ในการทำอะไรใหม่ๆ

2.1.4.3. แพร่กระจายข่าวสารทาง Internet

2.1.4.4. ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและเศรษฐกิจของคนในสังคม

2.1.4.5. "เศรษฐกิจใหม่"

2.1.4.5.1. มุ่งใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ค้าขายแบบไร้พรมแดน

2.1.4.5.2. สื่อสารกันอย่างไม่มีข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่

2.1.4.5.3. ความรู้ที่ได้ผ่านจากประสบการณ์ที่สั่งสมมา

2.2. ความรู้(Knowledge)💬

2.2.1. คือ

2.2.1.1. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน

2.2.1.2. การค้นคว้าหรือประสบการณ์

2.2.1.3. ความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจ

2.2.1.4. สารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ การได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ

2.2.2. แหล่งเก็บความรู้ในองค์กร

2.2.2.1. สมองพนักงาน 42%

2.2.2.2. เอกสาร(กระดาษ) 16%

2.2.2.3. เอกสาร(อิเล็กทรอนิกส์)20%

2.2.2.4. ฐานความรู้ 12%

2.2.3. ประเภทของความรู้

2.2.3.1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในสมอง (Tacit Knowledge)

2.2.3.1.1. แล้วแต่ตัวบุคคล "ความรู้แบบเป็นนามธรรม"

2.2.3.2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge)

2.2.3.2.1. ความรู้นอกบุคคล สามารถถ่ายทอดได้ "ความรู้แบบเป็นรูปธรรม"

2.2.4. สรุปกระบวนการจัดการความรู้

2.2.4.1. การแสวงหาความรู้

2.2.4.2. การสร้าง

2.2.4.3. การจัดเก็บ

2.2.4.4. การถ่ายทอด

2.2.4.5. การน าความรู้ไปใช้งาน

2.3. เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้

2.3.1. “เทคโนโลยีการสื่อสาร”

2.3.1.1. ช่วยให้บุคคลเข้าถึงความรู้ต่างๆได้สะดวกขึ้น

2.3.1.2. ค้นหาข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ได้ผ่านทางเครือข่ายอินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต หรืออินเทอร์เน็ต

2.3.2. “เทคโนโลยีการทำงานร่วมกัน”

2.3.2.1. สนับสนุนการทำงานร่วมกัน

2.3.2.2. สามารถประสานการท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.3.2.3. ลดอุปสรรคเรื่องของระยะทาง ระยะเวลา

2.3.2.4. เช่น โปรแกรม Groupware, ระบบ Screen Sharing

2.3.3. “เทคโนโลยีการจัดเก็บ”

2.3.3.1. ช่วยในการจัดเก็บและจัดการความรู้ต่างๆ

2.3.3.2. น ามาจัดการความรู้ เพื่อให้จัดเก็บได้มากที่สุด

2.3.4. “สังคมเครือข่าย”

2.3.4.1. เครื่องมือเทคโนโลยีได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว

2.3.4.2. มีการปรับเปลี่ยนพัฒนาตามพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภค

2.3.4.3. ระบบสังคมโลกออนไลน์ก าลังเป็นที่นิยมอย่างสูง

2.4. บทบาทสำคัญของเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

2.4.1. บทบาทสำคัญของ ICT

2.4.1.1. การศึกษา

2.4.1.2. ชีวิตระจำวัน

2.4.1.3. ดำเนินธุรกิจ

2.4.1.4. การแพทย์และสาธารณะสุข

2.4.1.5. ด้านการเกษตร

2.4.2. ความสำคัญของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ต่อการจัดการความรู้

2.4.2.1. ช่วยในการรวบรวมองค์ความรู้ที่กระจัดกระจาย มีอยู่ในบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ

2.4.2.2. เพื่อให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึ้น พัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ และปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

2.4.2.3. เป็นเครื่องมือ เพื่อใช้ในการบรรลุเป้าหมาย : งาน >>พัฒนาคน>> พัฒนาองค์กร

2.4.2.4. การประยุกต์ใช้กับงานด้านการศึกษา

2.4.2.4.1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

2.4.2.4.2. การศึกษา/ประชุมทางไกล

2.4.2.4.3. เครือข่ายการศึกษา

2.4.2.4.4. การใช้งานห้องสมุด

2.4.3. ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการศึกษา

2.4.3.1. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น

2.4.3.2. ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม

2.4.3.3. ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้ สนุกสนาน

2.4.3.4. ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ

2.4.3.5. ช่วยลดเวลาในการสอน

2.4.3.6. ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

3. พ.ศ. 1893 – 2310

4. พ.ศ. 1800 – 1900

5. บทที่1: ห้องสมุด

5.1. ความหมายของห้องสมุด📚

5.1.1. ห้องสมุด(Library)หรือ(Libraria)

5.1.1.1. มาจากภาษาละติน Liber ที่แปลว่า ที่เก็บหนังสือ

5.1.1.2. สถานที่รวบรวมความรู้ เพื่อให้สอดคล้องต่อความต้องการ

5.1.1.3. ให้บริการสารสนเทศทั้งสิ่งพิมพ์ ไม่ตีพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์

5.1.1.4. บรรณารักษ์ที่มีความชำนาญเป็นผู้ให้บริการ

5.2. ความสำคัญของห้องสมุด📚

5.2.1. วาณี ฐาปนวงศ์ศานติ(2539)

5.2.1.1. แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ

5.2.1.2. ศึกษาค้นคว้าความรู้ได้อย่างอิสระ

5.2.1.3. สถานที่ให้การศึกษาต่อเนื่อง

5.2.1.4. ผู้ใช้บริการห้องสมุดมีความรู้ทันสมัย

5.2.1.5. แหล่งสร้างนิสัยรักการอ่าน

5.2.1.6. สนับสนุนเวลาว่างให้เกิดระโยชน์

5.2.1.7. ผู้ใช้รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่นและกฎระเบียบสังคม

5.2.1.8. สถานที่เก็บรักษาวัฒนธรรมและให้ความเพลิดเพลิน

5.2.1.9. ด้านการศึกษา

5.2.1.9.1. เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

5.2.1.9.2. สนองแนวทางการจัดการเียนการสอน

5.3. บทบาทของห้องสมุด📚

5.3.1. ด้านการศึกษา

5.3.2. ด้านวัฒนธรรม

5.3.2.1. ศูนย์รวมและรักษาวัฒนธรรม

5.3.2.2. ควบคู่ไปกับอารยธรรมของมนุษยชาติ

5.3.2.2.1. การค้นคว้าข้อมูลทางการศึกษา

5.3.2.3. เป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้า

5.3.3. ด้านเศรษฐกิจ

5.3.3.1. ช่วยสร้างงานและคนให้มีความรู้

5.3.3.2. พัฒนาความสามารถ อาชีพการงาน

5.3.3.3. ประหยัดงบประมาณส่วนบุคคล

5.3.4. ด้านการเมืองการปกครอง

5.3.4.1. ส่งเสริมให้ระชาชนมีความรู้ความเข้าใจทางด้านการเมือง

5.3.4.2. ขัดเกลาให้เป็นพลเมืองดี มีจิตสำนึกต่อสังคม

5.4. วัตถุประสงค์ของห้องสมุด📚

5.4.1. การศึกษา(Education)

5.4.1.1. พัฒนาผลเมืองให้มีความรู้ เฉลียวฉลาด

5.4.1.2. มีความสามารถในการศึกษาด้วยตนเอง

5.4.1.3. เพื่อนำความรู้ไปประกอบวิชาชีพ

5.4.1.4. มีทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ

5.4.1.4.1. หนังสือวิชาการ

5.4.1.4.2. หนังสือสารคดี

5.4.1.4.3. หนังสืออ้างอิง

5.4.2. เพื่อความรู้ข่าวสารที่ทันสมัยหรือสารนิเทศ(Information)

5.4.2.1. แหล่งรวบรวมความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ที่ถูกต้องทันสมัยและทันเหตุการณ์

5.4.2.2. พัฒนาคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

5.4.2.3. เพื่อให้ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวต่อเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น

5.4.3. เพื่อการค้นคว้าวิจัย(Research)

5.4.3.1. เพื่อความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการ

5.4.3.2. นำไปประยุกต์ใช้ในการทำงานหรือแก้ไขปัญหา

5.4.3.3. แหล่งข้อมูลพื้นฐานในการค้นคว้าวิจัย

5.4.4. เพื่อเพิ่มแรงบันดาลใจหรือความสุขทางใจ(Inspiration)

5.4.4.1. แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ ตนเอง วิชาการ สังคม วัฒนธรรม

5.4.4.2. เกิดความจรรโลงใจ เห็นคุณค่า ชื่นชมผลงาน

5.4.4.3. ยกระดับจิตใจและพัฒนาตนเอง

5.4.5. เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ(Recreation)

5.4.5.1. พักผ่อนสมอง ผ่อนคลายความเครียด สบายใจ

5.4.5.2. มีสาระทั้งสารคดีและบันเทิงคดี

5.4.5.3. รายงานการวิจัยวิทยานิพนธ์ เพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศทางวิชาการ

5.4.5.4. ทรัพยากรสารสนเทศ เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น นิตยสาร สื่อโสตทัศน์

5.5. องค์ระกอบของห้องสมุด📚

5.5.1. “ผู้บริหาร”

5.5.1.1. สนับสนุนการดำเนินงาน

5.5.1.2. มีอำนาจพิจารณาให้การสนับสนุน ด้านการเงิน กำลังคน กำลังใจ

5.5.2. “อาคารและสถานที่”

5.5.2.1. มีสถานที่เพียงพอในการเก็บหนังสือและโสตทัศน์

5.5.2.2. อาจเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคาร

5.5.3. “ครุภัณฑ์”

5.5.3.1. สิ่งจำเป็นสำหรับห้องสมุดในการที่จะเก็บหนังสือ สิ่งพิมพ์ วัสดุต่างๆ

5.5.3.1.1. โต๊ะ

5.5.3.1.2. เก้าอี้

5.5.3.1.3. ตู้เก็บหนังสือ

5.5.3.1.4. คอมพิวเตอร์

5.5.3.2. เครื่องอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้

5.5.4. “วัสดุสารนิเทศ”

5.5.4.1. จำเป็นต้องมีหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ และโสตทัศน์วัสดุ

5.5.4.2. วัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์

5.5.5. “บุคลากร”

5.5.5.1. บรรณารักษ์ : มีความรู้ด้านวิชาบรรณารักษศาสตร์

5.5.5.2. บุคลากรร่วมดำเนินงานห้องสมุด

5.5.6. “เงินอุดหนุน”

5.5.6.1. ปัจจัยสำคัญในการจัดหาวัสดุสารนิเทศ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์

5.6. ประเภทของห้องสมุด📚

5.6.1. “ห้องสมุดแห่งชาติ (National Library)”

5.6.1.1. คือแหล่ง

5.6.1.1.1. แหล่งรวบรวมและเก็บรักษาหนังสือที่พิมพ์ภายในประเทศ

5.6.1.1.2. รวบรวมและรักษาวรรณกรรมของชาติ

5.6.1.1.3. จัดทำบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศแห่งชาติ

5.6.1.1.4. จัดบริการแก่ประชาชนทั่วไป

5.6.1.2. หอสมุดแห่งชาติของไทย

5.6.1.2.1. จ.เชียงใหม่ จ.ชลบุรี จ.นครราชสีมา

5.6.1.3. หอสมุดแห่งชาติของต่างประเทศ

5.6.1.3.1. หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน

5.6.1.3.2. หอสมุดแห่งชาติฝรั่งเศส

5.6.2. “ห้องสมุดวิทยาลัยและมหาวิทยาลัย (College and University Library)”

5.6.2.1. ชื่อเรียกอื่น

5.6.2.1.1. หอสมุดกลาง

5.6.2.1.2. สำนักวิทยบริการ

5.6.2.1.3. ห้องสมุดคณะ

5.6.2.2. คือแหล่ง

5.6.2.2.1. บริการในสถาบันการสึกษาระดับอุดมศึกษา

5.6.2.2.2. มีวัตถุประสงค์สอดคล้องกับสถาบันนั้นๆ

5.6.2.2.3. พัฒนาสู่ระบบห้องสมุดดิจิทัล

5.6.2.2.4. จัดตั้งศูนย์บริการหรือศูนย์การเรียนรู้

5.6.3. “ห้องสมุดโรงเรียน (School Library)”

5.6.3.1. ห้องสมุดโรงเรียนอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา

5.6.3.2. ทรัพยากรสารสนเทศส่วนใหญ่เป็นไปตามหลักสูตรของระดับการศึกษานั้นๆ

5.6.3.3. เพื่อการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนและครูโรงเรียน

5.6.3.4. ประกอบการเรียนการสอนตามหลักสูตร

5.6.4. “ห้องสมุดประชาชน (Public Library)”

5.6.4.1. เพื่อให้บริการแก่ประชาชน

5.6.4.2. สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต

5.6.4.3. เป็นศูนย์กลางบริการศึกษาสำหรับระบบการศึกษานอกระบบ

5.6.4.4. "ห้องสมุดแห่งชาติ"ก็จัดอยู่ในประเภทนี้

5.6.5. “ห้องสมุดเฉพาะ (Special Library)”

5.6.5.1. จัดตั้งโดยหน่วยงานที่ห้องสมุดสังกัดอยู่

5.6.5.2. ตั้งขึ้นเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคคลากรในส่วนงานนั้นๆ

5.6.5.3. ให้บริการผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกในหน่วยงานนั้นๆ

5.6.5.4. ห้องสมุดธนาคาร ห้องสมุดโรงพยาบาล ห้องสมุดส่วนราชการ

5.7. บริการห้องสมุด📚

5.7.1. บริการการอ่าน

5.7.2. บริการสารสนเทศ

5.7.3. บริการหนังสือสำรอง

5.7.4. บริการแนะนำการใช้ห้องสมุด

5.7.5. บริการเอกสารสารสนเทศ

5.7.6. บริการด้านจัดทำบรรณานุกรม

5.7.7. บริการเผยแพร่

5.8. กิจกรรมของห้องสมุด📚

5.8.1. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

5.8.2. กิจกรรมส่งเสริมคววามรู้เรื่องห้องสมุด

5.8.3. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน

5.8.4. กิจกรรมส่งเสริมความรู้ทั่วไป

5.8.5. กิจกรรมส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

6. บทที่2: ประวัติห้องสมุดในต่างประเทศและประเทศไทย

6.1. ประวัติห้องสมุดในต่างประเทศ

6.1.1. ห้องสมุดสมัยโบราณ🚩

6.1.1.1. “อารยธรรมสุเมเรียน”

6.1.1.1.1. ชนชาติแรกในโลกที่บันทึกเรื่องราวต่างๆ

6.1.1.1.2. บันทึกลงบนแผ่นดินเหนียว

6.1.1.1.3. ห้องสมุดที่มืชื่อเสียง “ห้องสมุดเมืองเทลโลว์”

6.1.1.2. “อารยธรรมบาบิโลเนียน”

6.1.1.2.1. มีจดหมายเหตุเกิดขึ้นแล้ว

6.1.1.2.2. ห้องสมุดที่มืชื่อเสียง “ห้องสมุดเบอร์ซิปปา”

6.1.1.3. “อารยธรรมอัสซีเรียน”

6.1.1.3.1. ห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์

6.1.1.4. “อารยธรรมอียิปต์”

6.1.1.4.1. ชนชาติแรกที่นำเอา “ต้นปาปิรัส” มาทำเป็นแผ่น

6.1.1.4.2. กระดาษปาปิรัส

6.1.1.5. “อารยธรรมกรีก”

6.1.1.5.1. ยุคทองของอารยธรรม

6.1.1.5.2. นิยมสะสมหนังสือเพื่อทำเป็นห้องสมุดส่วนตัว

6.1.1.5.3. บันทึกเรื่องราวลงบนแผ่นหนัง โคเดกซ์

6.1.1.5.4. พระเจ้าปะโตเลมีที่ 1 ทรงโปรดให้สร้างห้องสมุด

6.1.1.5.5. “ห้องสมุดอเล็กซานเดรีย” = ห้องสมุดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ

6.1.1.6. “อารยธรรมโรมัน”

6.1.1.6.1. รุ่งเรืองคล้ายอารยธรรมกรีก

6.1.1.6.2. สร้างห้องสมุดเพื่อส่งเสริมบารมี

6.1.1.6.3. จักพรรดิ์ออกัส ทรงโปรดให้สร้างห้องสมุดประชาชน

6.1.2. ห้องสมุดสมัยกลาง🚩

6.1.2.1. ยุคมืด

6.1.2.1.1. ภัยสงคราม ไข้ทรพิษระบาด

6.1.2.1.2. ห้องสมุดตามเมืองใหญ่

6.1.3. ห้องสมุดสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา🚩

6.1.3.1. ศตวรรษที่ 15 • รวบรวมต้นฉบับจำนวนมากไว้ที่ “นครวาติกัน”

6.1.3.2. ศตวรรษที่ 17 • การศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างมีแบบแผน จัดตั้งห้องสมุดมหาวิทยาลัย

6.1.3.3. ศตวรรษที่ 18 • ระบบจัดหมวดหนังสือแบ่งออกเป็น 5 ประเภท

6.1.3.4. ศตวรรษที่ 19 • จัดตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ศึกษาวิชาบรรณารักษ์ (มหาวิทยาลัยโคลัมเบียร์)

6.1.4. ห้องสมุดสมัยใหม่🚩

6.1.4.1. ศตวรรษที่ 20

6.1.4.1.1. การเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย

6.1.4.1.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ ประเภทโสตทัศนูปกรณ์ต่างๆ

6.1.4.1.3. นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในห้องสมุด

6.1.4.1.4. พระราชบัญญัติ

6.2. ประวัติห้องสมุดในประเทศไทย

6.2.1. ห้องสมุดสมัยสุโขทัย

6.2.1.1. พ่อขุนรามคำแหง

6.2.1.1.1. จารึกเรื่องราวต่างๆลงบนแผ่นหินหรือเสาหิน

6.2.1.2. มีการส่งสมณฑูตไปสืบศาสนาที่ลังกา

6.2.1.2.1. พุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ พร้อมทั้งคัมภีร์พระไตรปิฎก

6.2.1.2.2. จารึกลงในใบลาน

6.2.1.2.3. หอไตร : เก็บหนังสือทางพุทธศาสนา

6.2.1.3. ไตรภูมิพระร่วง

6.2.1.3.1. วรรณกรรมสำคัญทางศาสนา

6.2.1.3.2. พระนิพนธ์ในสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 1 พญาลิไทย

6.2.2. ห้องสมุดสมัยกรุงศรีอยุธยา

6.2.2.1. สร้างหอหลวง : เพื่อเก็บหนังสือราชการ

6.2.2.1.1. พ.ศ. 2310 : หอไตรและหอหลวงถูกพม่าทำลายได้รับความเสียหาย

6.2.3. ห้องสมุดสมัยกรุงรัตนโกสินทร์(พ.ศ. 2325 – ปัจจุบัน)

6.2.3.1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก

6.2.3.1.1. โปรดเกล้าฯ ให้สร้างหอพระมณเฑียร

6.2.3.2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

6.2.3.2.1. โปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนฯ

6.2.3.2.2. รวบรวมตำราต่างๆ มาตรวจแก้ไขและจาลึกลงบนแผ่นศิลา

6.2.3.3. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

6.2.3.3.1. หอพระสมุดวชิรญาณ

6.2.3.3.2. หอพุทธศาสนสังคหะ

6.2.3.3.3. หอสมุดสำหรับพระนคร

6.2.3.4. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

6.2.3.4.1. หอสมุดแห่งชาติ

6.2.3.5. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

6.2.3.5.1. หอจดหมายเหตุ

7. บทที่ 3 :ทรัพยากรสารสนเทศ

7.1. ความหมายของสารสนเทศ🖥️

7.1.1. ศตวรรษที่ 21 : “ยุคสารสนเทศ” หรือ “Information Age”

7.1.2. ความหมาย

7.1.2.1. “วัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูล ข่าวสารข้อเท็จจริง ตลอดจนความรู้ซึ่งได้มีการบันทึกไว้ ทั้งในรูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยได้รวบรวม บันทึกไว้ในห้องสมุด ศูนย์ข้อมูล ศูนย์สารสนเทศ เพื่อประกอบการวินิจฉัย การวางแผน เพื่อการศึกษาวิจัย และพัฒนาอาชีพ ของบุคคลทุกวงการ”

7.1.3. ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด (Information Resources)

7.1.3.1. วัสดุที่ใช้บันทึกข่าวสาร ความรู้ต่างๆ

7.1.3.2. มีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างสติปัญญา อารมณ์ และจิตใจ

7.1.3.3. วัสดุเหล่านี้ถูกจัดเก็บรวบรวมไว้ในห้องสมุด

7.2. ประเภททรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด

7.2.1. วัสดุตีพิมพ์ / สื่อสิ่งพิมพ์ (Printed Materials)📖

7.2.1.1. ความหมาย

7.2.1.1.1. วัสดุที่ใช้อักษร ข้อความ เป็นสื่อในการบันทึกหรือถ่ายทอดสารสนเทศ

7.2.1.1.2. เทคนิคการพิมพ์การเขียนลงบนวัสดุชนิดต่างๆ

7.2.1.2. คือ

7.2.1.2.1. หนังสือ(Books)

7.2.1.2.2. หนังสือบันเทิงคดี (Fictions)

7.2.1.2.3. วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์

7.2.1.2.4. จุลสาร (Pamphlets)

7.2.1.2.5. กฤตภาค (Clippings)

7.2.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์(Non-Printed Materials)🌏

7.2.2.1. โสตทัศนวัสดุ (Audio Visual Materials)

7.2.2.1.1. แผ่นเสียง (Phonodiscs) , เทปบันทึกเสียง (Phonotapes)

7.2.2.1.2. ภาพยนต์ (Motion pictures or Films)

7.2.2.1.3. เทปวีดิทัศน์ (Videotapes) , แผ่นวีดิทัศน์ (Videodiscs):

7.2.2.1.4. รูปภาพ (Pictures)

7.2.2.1.5. แผนที่ (Maps) , ลูกโลก (Globes)

7.2.2.1.6. แผนภูมิ (Charts)

7.2.2.1.7. ภาพเลื่อน (Filmstrips) , ภาพนิ่ง (Slides)

7.2.2.1.8. แผ่นโปร่งใส (Transparencies)

7.2.2.1.9. หุ่นจำลอง (Models)

7.2.2.1.10. ของจริง (Reals) , ของตัวอย่าง (Specimens)

7.2.2.2. วัสดุย่อส่วน (Microforms)

7.2.2.2.1. ไมโครฟิล์ม (Microfilms)

7.2.2.2.2. ไมโครฟิช (Microfiches)

7.2.2.3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Materials)

7.2.2.3.1. ซีดีรอม : CD-ROM : Compact Dise Read Only Memory

7.2.2.3.2. แผ่นวิดีทัศน์ระบบดิจิตอล : DVD : Digital Versatile Dise

7.2.2.3.3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ : Electronic Books / E-Books

7.2.2.3.4. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ : Electronic Journals / E-Journals

7.2.2.3.5. หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ : Electronic Newspapers / E-Newspapers

7.2.2.3.6. ฐานข้อมูล : Database

7.2.2.3.7. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ : Electronic Mail / E-mail

7.2.2.3.8. เคเบิลทีวี : Cable Television / Cable TV

7.2.2.3.9. อินเตอร์เน็ต : Internet