ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ by Mind Map: ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

1. วัตถุประสงค์ความต้องการและการใช้สารสนเทศ

1.1. เพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น

1.2. เพื่อศึกษาและพัฒนาทั้งตนและสังคม

1.3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานหรือบริหารงาน

1.4. แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตส่วนตัวและการงาน

2. พฤติกรรมสารสนเทศ

2.1. ด้านร่างกาย ปัจจัย4

2.2. ด้านอารมณ์ อำนาจ ความมั่งคั่ง

2.3. ด้านปัญญา การเรียนรู้

2.4. เกิดจากสัญชาตญาณ มีความต้องการ

2.5. ที่ตระหนักได้ รู้ว่าต้องการอะไร

2.6. ที่แสดงออก แสดงออกมาอย่างชัดเจน

2.7. ปรับตามสารสนเทศ เชืรอมโยงเข้ากับทรัพยากรสารสนเทศ

3. ความหมายของสารสนเทศ

3.1. วัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูล ข่าวสารข้อเท็จจริง มีการบันทึกไว้ในรูปของสื่อสิ่งพิมพ์ มื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยรวบรวมไว้ในห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศเพื่อประกอบการวิจัย การเรียนและพัฒนาอาชีพ

4. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด

4.1. วัสดุตีพิมพ์/สื่อสิ่งพิมพ์ คือใช้อักษร ในการบันทึกหรือถ่ายทอดสารสนเทศ

4.1.1. หนังสือ

4.1.2. วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์

4.1.3. จุลสาร

4.1.4. กฤตภาค

4.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ คือ อุปกรณ์ต่างๆที่ถ่ายทอดด้วยเสียงหรือภาพ

4.2.1. โสตทัศนวัสดุ

4.2.2. วัสดุย่อส่วน

4.2.3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์

5. ความสำคัญ บทบาท คุณค่าของสารสนเทศ

5.1. ความสำคัญของสารสนเทศ

5.1.1. การดำรงชีวิตประจำวัน

5.1.1.1. ทุกคนต้องการสารสนเทศเพื่อช่วยเพิ่มการตัดสินใจ

5.1.1.2. ช่วยให้มีทักษะในการแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ

5.1.1.3. มีทักษะด้านเทคโนโลยีเพื่อสืบค้นข้อมูล

5.1.1.4. รู้จักการวิเคราะห์

5.1.2. สังคม

5.1.2.1. เพื่อพัฒนาตนอย่างต่อเนื่อง

5.1.2.2. พัฒนาประเทศโดยส่วนรวมก้าวหน้างอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

5.1.2.3. มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคม

5.2. บทบาทของสารสนเทศ

5.2.1. ด้านการค้า

5.2.1.1. การดำเนินการค้าขึ้นอยู่กับการเผยแพร่สารสนเทศ

5.2.1.2. หากมีข้อมูลไม่เพียงพออาจทำให้ล่าช้าได้

5.2.1.3. กระทรวงพาณิชย์ กรมพาณิชย์สัมพันธ์ จัดเก็บข้อมูลและบรการของพ่อค้า

5.2.1.4. เป็นประโยชน์ต่อการค้า

5.2.2. ด้านการศึกษา

5.2.2.1. เพื่อการศึกษาของคนในประเทศเป็นหลัก

5.2.2.2. เพื่อประกอบการเรียนการสอน

5.2.3. ด้านการเมืองการปกครอง

5.2.3.1. ส่งเสริมระบอบการเมืองภายในประเทศ

5.2.3.2. สนับสนุนให้ประชาชนเข้าใจในระบอบการปกครอง และเข้าถึงการทำงานของรัฐ

5.2.4. ด้านอุตสาหกรรม

5.2.4.1. ในประเทศที่กำลังพัฒนาสารสนเทศเป็นที่สำคัญโดยเฉพาะกับนักลงทุน

5.2.4.2. รัฐต้องมีบทบาทในการส่งเสริมการลงทุนให้นักธุรกิจได้รับรู้สารสนเทศ

5.2.4.3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม

5.2.5. ด้านวัฒนธรรม

5.2.5.1. เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมมาตั้งแต่สมัยโบราณ

5.2.5.2. มีความสำคัญในการอนุรักษ์เอกลักษณ์ของชาติ

5.3. คุณค่าของสารสนเทศ

5.3.1. ขึ้นอยู่กับปัจจัย4ประการ

5.3.2. เวลา รวดเร็ว ทันเหตุการณ์

5.3.3. ความถูกต้อง ชัดเจน ไม่มีความผิดพลาด

5.3.4. ความครบถ้วน ไม่ขาดหาย

5.3.5. ความต่อเนื่อง ต่อเนื่อง เป็นเนื้อหาเดียวกัน

5.3.6. คุณสมบัติในการวัดค่าสารสนเทศมร9ข้อ

5.3.7. เข้าถึงได้

5.3.8. ครบถ้วน

5.3.9. ถูกต้องเที่ยงตรง

5.3.10. เหมาะสม

5.3.11. ทันเวลา

5.3.12. ชัดเจน

5.3.13. หอยืดหยุ่น

5.3.14. พิสูจน์ได้

5.3.15. ซ้ำซ้อน

6. ลักษณะสารสนเทศที่บุคคลต้องการใช้

6.1. เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้

6.2. สะดวกรวดเร็ว

6.3. สอดคล้องกับค่านิยม

6.4. มีความหลากหลาย ครบถ้วน

7. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสวงหาและการใช้สารสนเทศ

7.1. ด้านอาชีพและหน้าที่การงาน

7.1.1. ความรับผิดชอบแต่ละบุคคล

7.1.2. กระบวนการการวางแผนและการตัดสินใจ

7.1.3. ลักษณะและสภาพแวดล้อมของหน่วยงาน

7.2. ด้านลักษณะทางประชากร

7.2.1. เพศ

7.2.2. อายุ

7.2.3. ระดับการศึกษา

7.2.4. เชื้อชาติ

7.3. ด้านลักษณะทางจิตวิทยา

7.3.1. กระบวนการเลือกรับสาร

7.3.2. รูปแบบการดำเนินชีวิต

7.4. ด้านสารสนเทศ

7.4.1. การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ

7.4.2. คุณภาพของสารสนเทศและประโยชน์ที่ได้รับ

8. อุปสรรคและปัญหาของการแสวงหาสารสนเทศ

8.1. ตัวผู้แสวงหาสารสนเทศ

8.1.1. ประสบการณ์ในการค้นหาข้อมูล

8.2. วิธีการและกระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

8.2.1. ช่องทางในการค้นหาตามความสามารถแต่ละบุคคล โดยการใช้เทคนิค เพื่อให้ได้ตามที่ต้องการมากที่สุด

9. ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

9.1. ข้อมูลสารสนเทศสู่การพัฒนาความรู้

9.1.1. สังคมเกษตรกรรม

9.1.1.1. ยุคแห่งการแข่งขันกับธรรมชาติ

9.1.1.2. รู้จักใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ

9.1.2. สังคมอุตสาหกรรม

9.1.2.1. การแข่งขันกับธรรมชาติที่มนุษย์ปรุงแต่ง

9.1.2.2. เริ่มนำวัตถุดิบมาแปรสภาพเป็นผลผลิตทางอุตสาหกรรม

9.1.3. สังคมข่าวสาร

9.1.3.1. ยุคแห่งการแข่งขันกันเอง

9.1.3.2. เริ่มตระหนักถึงคุณค่าข่าวสาร

9.1.4. ยุตเศรษฐกิจแห่งปัญญาและการเรียนรู้

9.1.4.1. เปลี่ยนมาใช้ความรู้เป็นหลัก

9.1.4.2. ส่งผลกระทบต่อการดำเนินเศรษฐกิจและวิถีชีวิตของคนในชุมชน

9.1.4.3. มุ่งเน้นการใช้ICTเป็นหลัก

10. ความรู้

10.1. สมองซีกซ้าย

10.1.1. ส่วนของการตัดสินใจ

10.2. สมองซีกขวา

10.2.1. สว่นของการสร้างสรรค์

11. ขั้นของความรู้

11.1. ข้อมูล

11.2. สารสนเทศ

11.3. ความรู้

11.4. ความเฉลียวฉลาด

11.5. เชาวน์ปัญญา

12. ประเภทของความรู้

12.1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในสมอง

12.1.1. ความรู้แบบนามธรรม

12.2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง

12.2.1. ความรู้แบบรูปธรรม

12.3. ความรู้ที่เกิดจากวัฒนธรรม

12.3.1. ความรู้ที่เกิดจากความเชื่อ

13. กระบวนการจัดการความรู้

13.1. เทคโนโลยีกับการจัดการความรู้

13.1.1. การสื่อสาร

13.1.1.1. บุคคลเข้าถึงกันได้ง่ายมากขึ้น

13.1.2. การทำงานร่วมกัน

13.1.2.1. สนับสนุนการทำงานร่วมกัน

13.1.3. การจัดเก็บ

13.1.3.1. จัดเก็บและจัดการความรู้ให้มากที่สุด

13.1.4. สังคมเครือข่าย

13.1.4.1. มีการเปลี่ยนแปลงตามพฤติกรรม

14. บทบาทของห้องสมุด

14.1. ด้านการศึกษา

14.1.1. เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ : แต่ละคนมีความต้องการหรือความถนัดแตกต่างกัน ผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพิ่มเติมมีบทบาทตอบสนองแนวทางการจัดการเรียนการศึกษา

14.2. ด้านวัฒนธรรม

14.2.1. ศูนย์รวมและรักษาวัฒนธรรม เป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้า

14.3. ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

14.3.1. ความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาความสามารถอาชีพการงาน

15. ความหมายของห้องสมุด

15.1. สถานที่รวบรวมความรู้ ให้บริการสารสนเทศทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ ไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีการคัดเลือกเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ

16. ความสำคัญของห้องสมุด

16.1. แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ต่างๆได้อย่างอิสระ สถานที่ให้การศึกษาต่อเนื่อง

17. วัตถุประสงค์ของห้องสมุด

17.1. เพื่อการศึกษา พัฒนาความรู้ให้เฉลียวฉลาด

17.2. ความรู้ที่ทันสมัย แหล่งรวบรวมความรึ ข่าวสาร ที่ถูกต้องทันเหตุการณ์

17.3. ค้นคว้าวิจัย เพิ่มความก้าวหน้าทางวิชาการ

17.4. การผักผ่อน ผักผ่อนเพิ่มความผ่อนคลาย

18. องค์ประกอบของห้องสมุด

18.1. ผู้บริหาร สนับสนุนการดำเนินงาน

18.2. อาคารและสถานที่ มีพื้นที่ในการเก็บหนังสือ

18.3. ครุภัณฑ์ สิ่งจำเป็นต่อผู้ใช้บริการในการเก็บหนังสือ

18.4. วัสดุสารนิเทศ สิ่งพิมพ์ และโสตทัศน์วัสดุ

18.5. บุคลากร บรรณารักษ์ที่มีความรู้ ร่วมดำเนินงานห้องสมุด

18.6. เงินอุดหนุน ปัจจัยในการหาวัสดุสารนิเทศต่างๆ

19. ประเภทของห้องสมุด

19.1. ห้องสมุดแห่งชาติ

19.1.1. แหล่งรวบรวมหนังสืกที่พิมพ์ภายในประเทศ

19.1.2. รวบรวมและเก็บรักษาวรรณกรรมของชาติ

19.2. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย

19.2.1. บริการในสถาบันการศึกษาอุดมศึกษา

19.2.2. ทรัพยากรสารสนเทศส่วนใหญ่เป็นไปตามหลักสูตรระดับการศึกษานั้นๆ

19.3. ห้องสมุดโรงเรียน

19.3.1. ประกอบการเรียนการสอน

19.4. ห้องสมุดประชาชน

19.4.1. เพื่อให้บริการแก่ประชาชน

19.4.2. เป็นศูนย์กลางการศึกษานอกระบบ

19.5. ห้องสมุดเฉพาะ

19.5.1. จัดตั้งโดยหน่วยงานนั้นๆที่สังกัดอยู่

19.5.2. ส่งเสริมความรู้ สติปัญญาให้แก่บุคลากรในหน่วยงาน

20. บริการของห้องสมุด

20.1. การอ่าน

20.2. บริการให้ยืม

20.3. บริการสารสนเทศ

20.4. นิทรรศการหนังสือ

21. กิจกรรมห้องสมุด

21.1. ส่งเสิมการอ่าน

21.2. ส่งเสริมความรู้เรื่องห้องสมุด

21.3. ส่งเสริมการเรียนการสอน

21.4. ส่งเสริมความรู้ทั่วไป

21.5. ส่งเสริมให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

22. ประวัติห้องสมุดในต่างประเทศ

22.1. ห้องสมุดสมัยโบราณ

22.1.1. อารยธรรมบาบิโลเนียน

22.1.1.1. มีจดหมายเหตุเกิดขึ้น

22.1.2. อารยธรรมสุเมเรียน

22.1.2.1. ชนชาติแรกในโลกที่บันทึกเรื่องราวลงบนแผ่นดินเหนียว

22.1.3. อารยธรรมอัสซีเรียน

22.1.3.1. พระเจ้าอัสสุรนิบาลสร้างห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์ เพื่อคัดลอกและแปลวรรณกรรมต่างๆมาเก็บไว้ รากฐานของห้องสมุดต่างๆทั่วโลก

22.1.4. อารยธรรมอียิปต์

22.1.4.1. ชนชาติแรกที่นำต้นปาปิรุสมาทำกระดาษปาปิรุสแทนการใช้แผ่นดินเหนียว

22.1.5. อารยธรรมกรีก

22.1.5.1. ยุคทองของอารยธรรม นิยมทำห้องสมุดส่วนตัวเพื่อสะสมหนังสือ

22.1.6. อารยธรรมโรมัน

22.1.6.1. นิยมสร้างห้องสมุดเพื่อเสริมสร้างบารมี จักพรรดิ์ออกัส โปรดให้สร้างห้องสมุดประชาชน

22.2. ห้องสมุดสมัยกลาง

22.2.1. เป็นยุคมืด มีภัยสงคราม ไข้ทรพิษระบาด มีการใช้หนังสัตว์ กระดาษปาปิรุส เป็นวัสดุในการบันทึก

22.3. ห้องสมุดสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

22.3.1. ศตวรรษที่15

22.3.1.1. รวบรวมต้นฉบับจำนวนมากไว้ที่นครวาติกัน

22.3.2. ศตวรรษที่16

22.3.2.1. มีการผลิตแท่นพิมพ์กูเตนเบิร์ก จึงผลิดหนัวสือได้จำนวนมาก

22.3.3. ศตวรรษที่17

22.3.3.1. มีการทำวิจัยอย่างมีแบบแผน จึงจัดตั้งห้องสมุดมหาวิทยาลัยขึ้น

22.3.4. ศตวรรษที่18

22.3.4.1. จัดหมวดหมู่หนังสือออกเป็น5ประเภท

22.3.5. ศตวรรษที่19

22.3.5.1. จัดตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ศึกษาวิชาบรรณารักษ์ ที่มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย

22.4. ห้องสมุดสมัยใหม่

22.4.1. ศตวรรษที่20 มีการเปลี่ยนแปลงการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย เริ่มมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในห้องสมุด

23. ประวัติห้องสมุดในประเทศไทย

23.1. ห้องสมุดสมัยสุโขทัย

23.1.1. พ่อขุนรามคำแหง ประดิษฐ์อักษรไทยจารึกลงในแผ่นหินหรือเสาหิน เป็นหนังสือเล่มแรกของไทย

23.1.2. สร้างหอไตร

23.2. สมัยกรุงศรีอยุธยา

23.2.1. สร้างหอหลวง เพื่อเก็บหนังสือราชการ ต่ามาถูกพม่าทำลายเสียหาย

23.3. สมัยกรุงธนบุรี

23.3.1. พระเจ้าตากสินโปรดให้ยืใพระไตรปิฎกจากเมืองนครศรีธรรมราช สร้างหอพระไตรปิฎกหรือหอหลวง

23.4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

23.4.1. สร้างหอมณเฑียรธรรม มีห้องสมุดประชาชนแห่งแรกของประเทศไทย

24. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

24.1. แบ่งเป็น4ประเภท

24.2. การตั้งใจที่ตนไม่ได้ริเริ่ม คืไม่ได้มีเจตนาที่จะรับสารนั้น

24.3. การค้นโดยตนมิได้ริเริ่ม คือได้รับอีกสารหนึ่งโดยที่ค้นหาอีกสารหนึ่ง

24.4. การค้นที่ต้นริเริ่ม คือ การค้นหาสารสนเทศจากระบบในสถานที่ให้บริการต่างๆ

24.5. การค้นที่ดำเนินการอยู่ คือ ค้นหาสารสนเทศที่มีความรู้อยู่แล้ว แต่ต้องการหาเฉพาะด้านเพิ่มเติม

25. พัฒนาการของสารสนเทศ

25.1. คลื่นยุคที่1 ยุควัติทางการเกษตร

25.1.1. มีความเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ ปฏิบัติตามประเพณี

25.1.2. ไม่มีโอกาสเห็นสังคมอื่นๆนอกจากที่ตนอยู่อาศัย

25.2. คลื่นยุคที่2ยุควัติทางอุตสาหกรรม

25.2.1. มีบทบาทต่อสังคม การพัฒนาสื่อสารสนเทศลดอุปสรรคในการเผยแพร่

25.3. คลื่นยุคที่3เทคโนโลยีระดับสูง

25.3.1. ยุคแห่งสังคมข่าวสาร เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

25.3.2. มีการปรับปรุงพัฒนาระบบโทรคมนาคม

26. บทบาทความสำคัญของICT

26.1. การศึกษา

26.2. การดำรงชีวิตประจำวัน

26.3. ธุรกิจ

26.4. การแพทย์

26.5. การเกษตรกรรม

26.6. อุตสาหกรรม

27. ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา

27.1. สำหรับผู้เรียน

27.1.1. ทำให้มีโอกาสใช้ความสามารถของตัวเองได้อย่างเต็มที่

27.1.2. มีอิสระมนการเรียนรู้

27.1.3. เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา

27.1.4. การเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น เรียนได้ลึกและกว้างมากขึ้น