การใช้ทรัพยากรห้องสมุด

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การใช้ทรัพยากรห้องสมุด by Mind Map: การใช้ทรัพยากรห้องสมุด

1. บทที่ 4 : ความสาคัญ บทบาท คุณค่าของสารสนเทศ

1.1. พฤติกรรมสารสนเทศ

1.1.1. ระดับความต้องการพื้นฐานของมนุษย์

1.1.1.1. ด้านร่างกาย

1.1.1.1.1. อาหาร

1.1.1.1.2. เครื่องนุ่มห่ม

1.1.1.1.3. ที่อยู่อาศัย

1.1.1.1.4. ยา

1.1.1.2. ด้านอารมณ์

1.1.1.2.1. อำนาจค

1.1.1.2.2. ความมั่นคง

1.1.1.2.3. ความสำเร็จ

1.1.1.3. ด้านปัญญา

1.1.1.3.1. การวางแผน

1.1.1.3.2. ความต้องการสารสนเทศ

1.1.2. ระดับความต้องการสารสนเทศ

1.1.2.1. เกิดจากสัญชาตญาณท

1.1.2.2. ที่ตระหนักได้

1.1.2.3. ที่แสดงออก

1.1.2.4. ที่ปรับตามระบบสารสนเทศ

1.1.3. วัตถุประสงค์ของความต้องการและการใช้สารสนเทศ

1.1.3.1. ตอบสนองความอยากรู้

1.1.3.2. สนับสนุนการตัดสินใจ

1.1.3.3. ศึกษาและพัฒนาตัวเอง

1.1.3.4. เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงงาน

1.1.3.5. แก้ไขปัญหาชีวิตแลัการงาน

1.1.3.6. สนับสนุนการค้นคว้าวิจัย

1.1.4. ลักษณะสารสนเทศที่บุคคลต้องการใช้

1.1.4.1. เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้

1.1.4.2. ได้มาด้วยความสะดวก

1.1.4.3. สอดคล้องกับค่านิยมความเชื่อ

1.1.4.4. ตอบสนองความต้องการเฉพาะบุคคล

1.1.4.5. มีความหลากหลาย ถูกต้อง และครบถ้วน

1.1.5. ปัจจัยที่ทีอิทธิพลต่อการแสวงหาสารสนเทศ

1.1.5.1. ด้านอาชีพและหน้าที่การงาน

1.1.5.2. ด้านลักษณะทางจิตวิทยา

1.1.5.3. ด้านสารสนเทศ

1.1.6. พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ

1.1.6.1. ตั้งใจที่ตนไม่ได้ริเริ่ม

1.1.6.2. การค้นโดยตนไม่ได้ริเริ่ม

1.1.6.3. การค้นที่ตนริเริ่ม

1.1.6.4. การค้นที่ดำเนินการอยู่

1.1.7. กระบวนการแสวงหาสารสนเทศ

1.1.7.1. 1.ตระหนัก

1.1.7.2. 2.เข้าใจและนิยาม

1.1.7.3. 3.เลือกระบบค้นหา

1.1.7.4. 4.คิดสูตรการค้น

1.1.7.5. 5.การค้นหาสารสนเทศ

1.1.7.6. 6.ตรวจสอบผลลัพธ์

1.1.7.7. 7.กลั่นกรองสารสนเทศ

1.1.7.8. 8.ย้อนกลับ

1.1.8. ด้านลักษณะทางประชากร

1.1.9. พฤติกรรมการค้นหาสารสนเทศ

1.1.9.1. ความต้องการสารสนเทศ

1.1.9.1.1. แหล่งสารสนเทศ

1.1.10. อุปสรรคและปัญหา

1.2. ความสาคัญของสารสนเทศ

1.2.1. การดำรงชีวิต

1.2.2. สังคม

1.3. บทบาทของสารสนเทศ

1.3.1. ด้านการค้า

1.3.2. ด้านการศึกษา

1.3.3. ด้านการเมืองการปกครอง

1.3.4. ด้านอุตสาหกรรม

1.3.5. ด้านวัฒนธรรม

1.4. ประโยชน์ของสารสนเทศ

1.4.1. ลดอัตราการตาย

1.4.2. ช่วยให้เป็นผู้บริโภคอย่างฉลาด

1.4.3. พัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน

1.4.4. ส่งเสริมการศึกษา

1.4.5. แก้ปัญหาได้ดี

1.5. คุณค่าของสารสนเทศ

1.5.1. เวลาค

1.5.2. วามถูกต้อง

1.5.3. ความครบถ้วน

1.5.4. ความต่อเนื่อง

1.5.5. คุณสมบัติในการวัดค่าสารสนเทศ

1.5.5.1. เข้าถึงได้

1.5.5.2. ครบถ้วน

1.5.5.3. ถูกต้องเที่ยงตรง

1.5.5.4. เหมาะสม

1.5.5.5. ทันเวลา

1.5.5.6. ชัดเจน

1.5.5.7. ยืดหนุ่น

1.5.5.8. พิสูจน์ได้

1.5.5.9. ซ้ำซ้อน

1.6. พัฒนาการของสารสนเทศ

1.6.1. คลื่นยุคที่1

1.6.1.1. ยุควัติทางการเกษตร

1.6.2. คลื่นยุคที่2

1.6.2.1. ยุควัติทางอุสาหกรรม

1.6.3. คลื่นยุคที่3

1.6.3.1. ยุคเทคโนโลยีระดับสูง

2. บทที่2:ประวัติของห้องสมุด

2.1. ประวัติห้องสมุดในต่างประเทศ

2.1.1. ห้องสมุดสมัยโบราณ

2.1.1.1. อารยธรรมสุเมเรียน

2.1.1.1.1. ชนชาติแรกในโลกที่บันทึกเรื่องราวต่างๆ

2.1.1.1.2. บันทึกลงบนแผ่นดินเหนียว

2.1.1.1.3. ห้องสมุดเมืองเทลโลว์

2.1.1.2. อารยธรรมบาบิโลเนีย

2.1.1.2.1. มีจดหมายเหตุเกิดขึ้น

2.1.1.2.2. ห้องสมุดเบอร์ซิปปา(ถูกทำลายไปแล้ว)

2.1.1.3. อารยธรรมอัสซีเรียน

2.1.1.3.1. พระเจ้าอัสสุรนิบาลสร้างห้องสมุดแห่งเมืองนิเนเวห์

2.1.1.3.2. สร้างเพื่อคัดลอกและแปลวนนณกรรมต่างๆมาเก็บไว้

2.1.1.3.3. เป็นห้องสมุดแผ่นดินเหนียวที่ยิ่งใหญ่ที่สุด

2.1.1.3.4. รากฐานของห้องสมุดต่างๆทั่วโลก

2.1.1.4. อารยธรรมอียิปต์

2.1.1.4.1. ชนชาติแรกที่นำ”ต้นปาปิรัส”แทนกระดาษ

2.1.1.4.2. กระดาษปาปิรัส

2.1.1.4.3. เพื่อใช้แทนการบันทึกบนแผ่นดินเหนียว

2.1.1.4.4. ตัวอักษรไฮโรกลิฟฟิค

2.1.1.5. อารยธรรมกรีก

2.1.1.5.1. ยุคทองของอารยธรรม

2.1.1.5.2. นิยมสะสมหนังสือเพื่อทำเป็นห้องสมุดส่วนตัว

2.1.1.5.3. การบันทึกเรื่องราวลงบนแผ่นหนัง โคเดกซ์

2.1.1.5.4. พระเจ้าปะโตเลมีที่1 ทรงโปรดให้สร้างห้องสมุด

2.1.1.5.5. ห้องสมุดอเล็กซานเดรีย ห้องสมุดที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ

2.1.1.6. อารยธรรมโรมัน

2.1.1.6.1. รุ่งเรืองคล้ายอารยธรรมกรีก

2.1.1.6.2. สร้างห้องสมุดเพื่อส่งเสริมบารมี

2.1.1.6.3. จักพรรดิ์ออกัส ทรงโปรดให้สร้างห้องสมุดประชาชน

2.1.1.6.4. ห้องสมุดประชาชนแห่งแรก “เขาปาลาไตน์”

2.1.2. ห้องสมุดสมัยกลาง

2.1.2.1. เป็นยุคมืด

2.1.2.1.1. ภัยสงคราม

2.1.2.1.2. ไข้ทรพิษระบาด

2.1.2.2. ห้องสมุดตามเมืองใหญ่

2.1.2.2.1. ห้องสมุดแอบเบย์

2.1.2.2.2. ห้องสมุดเมืองฟลอเรนซ์

2.1.2.2.3. ห้องสมุดวัดกรุงโรม

2.1.2.3. ใช้หนังสัตว์ กระดาษปาปิรัส เป็นวัสดุในการบันทึก

2.1.3. ห้องสมุดสมัยใหม่

2.1.3.1. ศตวรรษที่ 20

2.1.3.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ ประเภทโสตทัศนูปกรณ์น

2.1.3.3. นำเทคโนโลยีมาใช้

2.1.4. ห้องสมุดสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ

2.1.4.1. ศตวรรษที่15

2.1.4.1.1. รวบรวมต้นฉบับไว้ที่ “นครวาติกัน”

2.1.4.2. ศตวรรษที่16

2.1.4.2.1. แท่นพิมพ์กูเตนเบิร์ก ทำให้ผลิตหนังสือได้มาก

2.1.4.3. ศตวรรษที่17

2.1.4.3.1. การศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างมีแบบแผน จัดตั้งห้องสมุดมหาวิทยาลัย

2.1.4.4. ศตวรรษที่18

2.1.4.4.1. ระบบจัดหมวดหนังสือแบ่งออกเป็น 5 ประเภท

2.1.4.5. ศตวรรษที่19

2.1.4.5.1. จัดตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ศึกษาวิชาบรรณารักษ์

2.2. ประวัติและพัฒนาการห้องสมุดในประเทสไทย

2.2.1. ห้องสมุดสุโขทัย

2.2.1.1. พ.ศ.1800-1900

2.2.1.2. ประดิษฐ์อักษรไทย

2.2.1.3. จารึกเรื่องราวบนแผ่นหิน

2.2.1.4. รับคำภีร์พระไตรปิฏก จาลึกลงมใบลาน

2.2.1.5. มีไตรภูมิพระร่วง

2.2.2. ห้องสมุดกรุงศรีอยุธยา

2.2.2.1. พ.ศ.1893-2310

2.2.2.2. สร้างหอหลวงเพื่อเก็บหนังสือราชการ

2.2.3. ห้องสมุดสมัยกรุงธนบุรี

2.2.3.1. พ.ศ.2310-2325

2.2.3.2. สร้างหอพระไตยปิฎกหลวง/หอหลวง

2.2.4. ห้องสมุดสมัยกรุงรัตนโกสินทร์

2.2.4.1. พ.ศ.2325-ปัจจุบัน

2.2.4.2. รัชกาลที่1

2.2.4.2.1. สร้างหอพระมณเฑียร

2.2.4.2.2. เก็บพระไตรปิฎกหลวง

2.2.4.3. รัชกาลที่3

2.2.4.3.1. รวบรวมตำราต่างๆ มาตรวจแก้ไข

2.2.4.3.2. รูปปั้นฤาษีดัดตน

2.2.4.4. รัชกาลที่5

2.2.4.4.1. หอพระสมุดวชิรญาณ

2.2.4.4.2. หอพุทธศาสนสังคหะ

2.2.4.4.3. หอสมุดสำหรับพระนคร

2.2.4.5. รัชกาลที่6

2.2.4.5.1. หอจดหมายเหตุ

2.2.4.6. รัชกาลที่7

2.2.4.6.1. หอสมุดแห่งชาติ

3. บทที่1:ห้องสมุด

3.1. ความหมายของห้องสมุด

3.1.1. ห้อง:ระบุสถานท่ี:อาคารเอกเทศส่วนของอาคารหรือห้องเดี่ยว

3.1.2. สมุด:ความหมายของหนังสือ

3.1.3. ห้องสมุด: สถานที่รวบรวมความรู้ให้บริการสารสนเทศทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ ไม่ตีพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

3.2. ความสำคัญของห้องสมุด

3.2.1. แหล่งรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ

3.2.1.1. -

3.2.2. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ต่างๆได้อย่างอิสระ

3.2.3. สถานที่ให้การศึกษาต่อเนื่อง

3.2.4. ช่วยให้ผู้ใช้บริการห้องสมุดมีความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ

3.2.5. แหล่งสารสนเทศที่ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่าน

3.2.6. สนับสนุนการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

3.2.7. ช่วยให้ผู้ใช้รู้จักการเคารพสิทธิของผู้อื่น และเคารพกฎระเบียบของสังคม

3.2.8. สถานที่เก็บรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่นและให้ความเพลิดเพลิน

3.3. บทบาทของห้องสมุด

3.3.1. ด้านการจัด การศึกษา

3.3.1.1. เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ : แต่ละคนมีความต้องการหรือความถนัดแตกต่างกัน

3.3.1.2. ผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเพิ่มเติม

3.3.1.3. มีบทบาทตอบสนองแนวทางการจัดการเรียนการศึกษา

3.3.1.4. ค้นคว้าเนื้อหาแขนงต่างๆ ตามความมุ่งหมายของแต่ละบุคคล

3.3.2. ด้านวัฒนธรรม

3.3.2.1. มีบทบาทควบคู่กับอารยธรรมของมนุษย์

3.3.2.2. เป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้า

3.3.2.3. ศูนย์รวมและรักษาวัฒนธรรม

3.3.3. ด้านเศรษฐกิจ

3.3.3.1. ความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ

3.3.3.2. ช่วยสร้างงานและคนให้มีความรู้

3.3.3.3. พัฒนาความสามารถอาชีพการงาน

3.3.3.4. งานบริการสื่อการศึกษาในห้องสมุดช่วยประหยัดงบประมาณส่วนบุคคล

3.3.4. ด้านการเมือง การปกครอง

3.3.4.1. ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าในในระบอบการปกครอง

3.3.4.2. เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ

3.4. วัตถุประสงค์ของห้องสมุด

3.4.1. การศึกษา

3.4.1.1. พัฒนาความรู้ เฉลียวฉลาด

3.4.1.2. มีความสามารถในการศึกษาด้วยตนเอง

3.4.1.3. เพื่อให้ความรู้วิชาการเพื่อนำไปประกอบวิชาชีพ

3.4.1.4. มีทรัพยากรสารสนเทศต่างๆ

3.4.1.4.1. หนังสือวิชาการ

3.4.1.4.2. หนังสือสารสนเทศ

3.4.1.4.3. หนังสืออ้างอิง

3.4.2. ความรู้ที่ทันสมัย

3.4.2.1. แหล่งรวบรวมความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร

3.4.2.2. พัฒนาคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

3.4.2.3. เพื่อให้ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวเหตุการณต่างๆ

3.4.3. ค้นคว้าวิจัย

3.4.3.1. เพิ่มความก้าวหน้าทางวิชาการ

3.4.3.2. นำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานหรือแก้ไขปัญหาต่างๆ

3.4.3.3. แหล่งข้อมูลพื้นฐานในการค้นคว้าวิจัย

3.4.3.4. รายงานการวิจัยวิทยานิพนธ์

3.4.4. ความสุขทางใจ

3.4.4.1. สร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์

3.4.4.2. เกิดความจรรโลงใจ เห็นคุณค่าผลงาน

3.4.4.3. ยกระดับจิตใจและพัฒนาตนเอง

3.4.5. การพักผ่อน

3.4.5.1. พักผ่อน

3.4.5.2. พักผ่อนสมอง ผ่อนคลายความเครียด

3.4.5.3. ความเพลิดเพลิน สบายใจ

3.4.5.4. มีสาระทั้งสารคดีและความบันเทิง

3.4.5.5. ทรัพยากรสารสนเทศ

3.4.5.5.1. นวนิยาย

3.4.5.5.2. เรื่องสั้น

3.4.5.5.3. นิตยสาร

3.4.5.5.4. สื่อโสตทัศน์

3.5. องค์ประกอบของห้องสมุด

3.5.1. ผู้บริหาร

3.5.1.1. มีบทบาทสำคัญที่สุด

3.5.1.2. มีอำนาจพิจารณาให้การสนับสนุน

3.5.1.2.1. ด้านการเงิน

3.5.1.2.2. กำลังคน

3.5.1.2.3. กำลังใจ

3.5.2. อาคารสถานที่

3.5.2.1. อาจเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคาร

3.5.3. ครุภัณฑ์

3.5.3.1. สิ่งจำเป็นสำหรับห้องสมุดในการเก็บหนังสือ สิ่งพิมพ์ วัสดุต่างๆ

3.5.3.2. เครื่องอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้

3.5.4. วัสดุสารนิเทศ

3.5.4.1. จำเป็นต้องมีหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆและโสตทัศน์วัสดุ

3.5.4.2. วัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์

3.5.5. บุคลากร

3.5.5.1. บรรณารักษ์

3.5.5.2. บุคลากรร่วมดำเนินงานห้องสมุด

3.5.6. เงินอุดหนุน

3.5.6.1. ปัจจัยในการจัดหาวัสดุสารสนเทศ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์

3.6. ประเภทของห้องสมุด

3.6.1. ห้องสมุดแห่งชาติ

3.6.1.1. เก็บรวบรวมหนังสือพิมพ์ภายในประเทศ

3.6.1.2. เก็บรวบรวมวรรณกรรมของชาติ

3.6.1.3. จัดทำบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศแห่งชาติ

3.6.1.4. กำหนดเลขISBN และISSN

3.6.1.5. จัดบริการแก่ประชาชน

3.6.1.6. ตัวอย่าง

3.6.1.6.1. ห้องสมุดแห่งชาติของไทย

3.6.1.6.2. ห้องสมุดแห่งชาติของต่างประเทศ

3.6.2. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย

3.6.2.1. บริการในสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกาษา

3.6.2.2. ชื่อเรียกอื่น

3.6.2.2.1. หอสมุดกลาง

3.6.2.2.2. สำนักวิทยบริการ

3.6.2.2.3. ห้องสมุดคณะ

3.6.2.3. วัตถุประสงค์สอดคล้องกับสถาบันนั้นๆ

3.6.2.4. พัฒนาสู่ระบบห้องสมุดดิจิทัล

3.6.2.5. จัดตั้งศูนย์บริการ/ศูนย์การเรียนรู้

3.6.3. ห้องสมุดโรงเรียน

3.6.3.1. ห้องสมุดโรงเรียน

3.6.3.1.1. อนุบาล

3.6.3.1.2. ปฐมศึกษา

3.6.3.1.3. มัธยมศึกษา

3.6.3.2. ทรัพยากรส่วนใหญ่เป็นไปตามหลักสูตร

3.6.3.3. เพื่อให้นักเรียนและคุณครูได้ศึกษาค้นคว้า

3.6.3.4. เพื่อประกอบการเรียนการสอน

3.6.4. ห้องสมุดประชาชน

3.6.4.1. ให้บริการแก่ประชาชน

3.6.4.2. สนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต

3.6.4.3. เป็นศูนย์กลางบริการศึกษาสำหรับการศึกษานอกระบบ

3.6.4.4. เช่น ห้องสมุดแห่งชาติ

3.6.5. ห้องสมุดเฉพาะ

3.6.5.1. จัดตั้งโดยหน่วยงานที่สังกัดอยู่

3.6.5.2. ใหบริการผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกในหน่วยงานนั้นๆ

3.6.5.3. ส่งเสริมความรู้ สติปัญญาของบุคคลากร

3.6.5.4. ตัวอย่างห้องสมุด

3.6.5.4.1. ห้องสมุดธนาคร

3.6.5.4.2. ห้องสมุดโรงพยาบาล

3.6.5.4.3. ห้องสมุดส่วนราชการ

3.7. บริการของห้องสมุด

3.7.1. บริการการอ่าน

3.7.2. บริการให้ยืม-คืน

3.7.3. บริการจัดทำดัชนี

3.7.4. บริการด้านการจัดทำบรรณรานุกรม

3.7.5. บริการสารสนเทศ

3.7.6. บริการหนังสือสำรอง

3.7.7. บริการถ่ายเอกสาร

3.7.8. บริการห้องการเรียนรู้

3.7.9. บริการแนะนำการใช้ห้องสมุด

3.7.10. บริการเผยแพร่สาระสังเขป

3.7.11. จัดแสดงนิทรรศการหนังสือ

3.8. กิจกรรมห้องสมุด

3.8.1. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน

3.8.2. กิจกรรมส่งเสริมความรู้เรื่องห้องสมุด

3.8.3. กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอน

3.8.4. กิจกรรมส่งเสริมความรู้ทั่งไป

3.8.5. กิจกรรมส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

4. บทที่3:ทรัพยากรสารสนเทศ

4.1. ความหมายของทรัพยากรสารสนเทศ

4.1.1. ศตวรรษที่21

4.1.1.1. ยุคสารสนเทศ

4.1.2. เกี่ยวข้องกับความรู้

4.1.2.1. กระบวนการทางปัญญา

4.1.2.2. การค้นหา การประเมิน

4.1.2.3. การใช้สารสนเทศ การสื่อสาร

4.1.3. ข้อมูล

4.1.3.1. ข้อเท็จจริง

4.1.4. ข่าวสาร

4.1.4.1. เรื่องราว เหตุการณ์

4.1.5. สารสนเทศ

4.1.5.1. สื่อความหมาย ระหว่าง ผู้สื่อ-ผู้รับ

4.1.6. สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์

4.2. คุณลักษณะและประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ

4.2.1. วัสดุตีพิมพ์/สื่อสิ่งพิมพ์

4.2.1.1. หนังสือ

4.2.1.1.1. หนังสือสารคดี

4.2.1.1.2. หนังสือบันเทิงคดี

4.2.1.2. วารสาร

4.2.1.3. นิตยสาร

4.2.1.4. หนังสือพิมพ์

4.2.1.5. จุลสาร

4.2.1.6. กฤตภาค

4.2.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์

4.2.2.1. โสตทัศนวัสดุ

4.2.2.1.1. แผ่นเสียง,เทปบันทึกเสียง

4.2.2.1.2. ภาพยนต์

4.2.2.1.3. เทปวีดิทัศน์,แผ่นวีดิทัศน์

4.2.2.1.4. รูปภาพ

4.2.2.1.5. แผนที่,ลูกโลก

4.2.2.1.6. แผนภูมิ

4.2.2.1.7. ภาพเลื่อน,ภาพนิ่ง

4.2.2.1.8. แผ่นโปร่งใส

4.2.2.1.9. หุ่นจำลอง

4.2.2.1.10. ของจริง

4.2.2.2. วัสดุย่อส่วน

4.2.2.2.1. ไมโครฟิล์ม

4.2.2.2.2. ไมโครฟิช

4.2.2.3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์

4.2.2.3.1. ซีดีรอม

4.2.2.3.2. แผ่นวิดีทัศน์ระบบดิจิตอล

4.2.2.3.3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

4.2.2.3.4. วารสารอิเล็กทรอนิกส์

4.2.2.3.5. หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์

4.2.2.3.6. ฐานข้อมูล

4.2.2.3.7. ไปรนษณีย์อิเล็กทรอนิกส์

4.2.2.3.8. เคเบิลทีวี

4.2.2.3.9. อินเตอร์เน็ต

5. บทที่ 5 : ประโยชน์ของ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1. ข้อมูลสารสนเทศสู่การพัฒนาความรู้

5.1.1. สังคมเกษตรกรรม

5.1.2. สังคมอุตสาหกรรม

5.1.3. สังคมข่าวสาร

5.1.4. ยุคเศรษฐกิจแห่งปัญญาและการเรียนรู้

5.2. กระบวนการจัดการเรียนรู้

5.2.1. การแสวงหาความรู้

5.2.2. การสร้าง

5.2.3. การจัดเก็บ

5.2.4. การถ่ายทอด

5.2.5. การนำความรู้ไปใช้งาน

5.3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้

5.3.1. เทคโนโลยีการสื่อสาร

5.3.2. เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกัน

5.3.3. เทคโนโลยีการจัดเก็บ

5.3.4. สังคมเครือข่าย

5.4. บทบาทที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

5.4.1. การศึกษา

5.4.2. การดำรงชีวิต

5.4.3. การดำเนินธุรกิจ

5.4.4. ด้านการแพทย์และสาธารณะสุข

5.4.5. ด้านการเกษตร

5.4.6. ด้านการเงินธนาคาร

5.4.7. ด้านความมั่นคง

5.4.8. ด้านคมนาคม

5.4.9. ด้านวิศวกรรม

5.4.10. ด้านสถาปัตยกรรม

5.4.11. ด้านการพาณิชย์

5.4.12. ด้านอุตสาหกรรม

5.5. ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

5.5.1. ช่วยให้เรียนรู้ได้เร็วช

5.5.2. ช่วยให้เข้าใจบทเรียนอย่างเป็นรูปธรรม

5.5.3. มีบรรยากาศในการเรียนรู้ สนุกสนาน

5.5.4. ช่วยให้บทเรียนย่าสนใจ

5.5.5. ช่วยลดเวลาในการสอน

5.5.6. ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

5.6. Applications & Wepsites

5.6.1. Ted Talk

5.6.2. British Council

5.6.3. Photomath

5.6.4. Anatomy Atlas

5.6.5. Evernote

5.6.6. Scan&Translate