ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ by Mind Map: ห้องสมุดและทรัพยากรสารสนเทศ

1. ทรัพยากรสารสนเทศ

1.1. ความหมายของทรัพยากรสารสนเทศ

1.1.1. วัสดุที่ใช้บันทึกข้อมูลข่าวสาร ข้อเท็จจริง ตลอดจนความรู้ซึ่งได้มีการบันทึกไว้ในรูปแบบสื่องสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยได้รวบรวมไว้ในห้องสมุด ศูนย์ข้อมูล ศูนย์สารสนเทศเพื่อการศึกษา

1.2. ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ

1.2.1. วัสดุตีพิมพ์

1.2.1.1. หนังสือ

1.2.1.1.1. หนังสือสารคดี

1.2.1.1.2. หนังสือบันเทิงคดี

1.2.1.2. วารสาร

1.2.1.2.1. เน้นด้านวิชาการ

1.2.1.3. นิตยสาร

1.2.1.3.1. เน้นด้านบันเทิง

1.2.1.4. หนังสือพิมพ์

1.2.1.4.1. เน้นนำเสนอข่าวสารในปัจจุบัน

1.2.1.5. จุลสาร

1.2.1.5.1. สิ่งพิมพ์กะทัดรัดไม่เกิน60หน้า

1.2.1.6. กฤตภาค

1.2.1.6.1. ข่าวสาร ความรู้ รูปภาพที่ตัดจากสิ่งพิมพ์มาติดบนกระดาษเเละระบุเเหล่งที่มา

1.2.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์

1.2.2.1. โสตทัศนวัสดุ

1.2.2.1.1. แผ่นเสียง

1.2.2.1.2. ภาพยนต์

1.2.2.1.3. เทปวีดีทัศน์

1.2.2.1.4. รูปภาพ

1.2.2.1.5. แผนที่ ลูกโลก

1.2.2.1.6. แผนภูมิ

1.2.2.1.7. ภาพเลื่อน ภาพนิ่ง

1.2.2.1.8. แผ่นโปร่งใส

1.2.2.1.9. หุ่นจำลอง

1.2.2.1.10. ของจริง ของตัวอย่าง

1.2.2.2. วัสดุย่อส่วน

1.2.2.2.1. ไมโครฟิล์ม

1.2.2.2.2. ไมโครฟิช

1.2.2.3. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์

1.2.2.3.1. ซีดีรอม

1.2.2.3.2. แผ่นวิดีทัศน์ระบบดิจิตอล

1.2.2.3.3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

1.2.2.3.4. วารสารอิเล็กทรอนิกส์

1.2.2.3.5. หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์

1.2.2.3.6. ฐานข้อมูล

1.2.2.3.7. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์

1.2.2.3.8. เคเบิลทีวี

1.2.2.3.9. อินเตอร์เน็ต

2. ความสำคัญ บทบาท คุณค่าของสารสนเทศ

2.1. พฤติกรรมสารสนเทศ

2.1.1. ระดับความต้องการพื้นฐานของมนุษย์

2.1.1.1. ด้านร่างกาย

2.1.1.2. ด้านอารมณ์

2.1.1.3. ด้านปัญญา

2.1.2. ระดับความต้องการสารสนเทศ

2.1.2.1. ที่เกิดจากสัญชาตญาณ

2.1.2.2. ที่ตระหนักได้

2.1.2.3. ที่เเสดงออก

2.1.2.4. ที่ปรับตามระบบสารสนเทศ

2.1.3. วัตถุประสงค์ของความต้องการเเละการใช้สารสนเทศ

2.1.3.1. สนับสนุนการตัดสินใจ

2.1.3.2. เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

2.1.3.3. ตอบสนองความอยากรู้

2.1.3.4. แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

2.1.4. ลักษณะสารสนเทศที่บุคคลต้องการใช้

2.1.4.1. เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้

2.1.4.2. ได้มาด้วยความสะดวก

2.1.4.3. สอดคล้องกับค่านิยม ความเชื่อ ทัศนคติ

2.1.4.4. หลากหลาย ถูกต้อง ครบถ้วน

2.1.5. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเเสวงหาเเละการใช้สารสนเทศ

2.1.5.1. ด้านอาชีพเเละการงาน

2.1.5.1.1. หน้าที่ความรับผิดชอบ

2.1.5.1.2. กระบวนการวางเเผนเเละการตัดสินใจ

2.1.5.1.3. สาขาวิชาที่ประกอบอาชีพ

2.1.5.1.4. สภาพเเวดล้อมที่ทำงาน

2.1.5.2. ด้านลักษณะทางประชากร

2.1.5.2.1. เพศ อายุ รายได้ ศาสนา เชื้อชาติ ระดับการศึกษา สาขาวิชา

2.1.5.3. ด้านลักษณะทางจิตวิทยา

2.1.5.3.1. กระบวนการการเลือกรับสาร

2.1.5.3.2. รูปเเบบการใช้ชีวิต

2.1.5.4. ด้านสารสนเทศ

2.1.5.4.1. เข้าถึงสารสนเทศ

2.1.5.4.2. ค่าใช้จ่ายในการใช้

2.1.5.4.3. คุณภาพที่ได้รับ

2.1.6. พฤติกรรมการเเสวงหาสารสนเทศ

2.1.6.1. การตั้งใจที่ตนไม่ได้ริเริ่ม

2.1.6.2. การค้นโดยตนไม่ได้ริเริ่ม

2.1.6.3. การค้นที่ตนริเริ่ม

2.1.6.4. การค้นที่ดำเนินการอยู่

2.1.7. กระบวนการเเสวงหาสารสนเทศ

2.1.7.1. 1 ตระหนักเเละยอมรับ

2.1.7.2. 2 เข้าใจเเละให้นิยามปัญหา

2.1.7.3. 3 เลือกระบบค้นหาสารสนเทศ

2.1.7.4. 4 คิดสูตรการค้น

2.1.7.5. 5 การค้นหาสารสนเทศ

2.1.7.6. 6 ตรวจสอบผลลัพธ์

2.1.7.7. 7 กลั่นกรองสารสนเทศ

2.1.7.8. 8 ย้อนกลับ ย้ำ หยุด

2.1.8. อุปสรรคเเละปัญหาของการเเสวงหาสารสนเทศ

2.1.8.1. ตัวผู้เเสวงหา

2.1.8.1.1. ประสบการณ์ในการค้นหาข้อมูล

2.1.8.2. วิธีการเเละกระบวนการ

2.1.8.2.1. ช่องทางในการเเสวงหา

2.2. ความสำคัญของสารสนเทศ

2.2.1. การดำรงชีวิตประจำวัน

2.2.1.1. ช่วยในการตัดสินใจ

2.2.1.2. ช่วยให้มีทักษะในการเเก้ปัญหา

2.2.1.3. การตอบคำถามที่ดี

2.2.2. สังคม

2.2.2.1. สำคัญต่อการเปลี่ยนเเปลงของสภาพสังคม

2.2.2.2. Information is power

2.3. บทบาทของสารสนเทศ

2.3.1. ด้านการค้า

2.3.1.1. ผู้ค้าสามารถตัดสินใจได้รวดเร็วเเละถูกต้อง

2.3.2. ด้านการศึกษา

2.3.2.1. ส่งเสริมระบบการศึกษา

2.3.3. ด้านการเมือง

2.3.3.1. ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูล มีความเข้าใจในนโยบายเเละการทำงานของราชการ

2.3.3.2. ส่งเสริมให้มีความรู้เเละความเข้าใจในระบอบการปกครอง

2.3.4. ด้านอุตสาหกรรม

2.3.4.1. ถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม

2.3.5. ด้านวัฒนธรรม

2.3.5.1. รักษาเอกลักษณ์ วัฒนธรรมของชาติ

2.4. ประโยชน์ของสารสนเทศ

2.4.1. ลดอัตราการตายจากโรคต่างๆ

2.4.2. ช่วยให้เป็นผู้บริโภคอย่างฉลาด

2.4.3. พัฒนาประสิทธิภาพการทำงาน

2.4.4. แก้ไขปัญหาได้ดีขึ้น

2.4.5. ช่วยในการตัดสินใจ

2.5. คุณค่าของสารสนเทศ

2.5.1. เวลา

2.5.1.1. รวดเร็ว ทันต่อความต้องการใช้

2.5.2. ความถูกต้อง

2.5.2.1. ชัดเจน พิสูจน์ได้

2.5.3. ความครบถ้วน

2.5.3.1. ไม่ขาดหาย ไม่ถูกบิดเบือนจากความจริง

2.5.4. ความต่อเนื่อง

2.5.4.1. มีลักษณะการสะสมของข้อมูลอย่างต่อเนื่อง เป็นเนื้อหาเดียวกัน

2.6. พัฒนาการของสารสนเทศ

2.6.1. ยุควัติทางเกษตรกรรม

2.6.1.1. ถ่ายทอดความคิดจากบุคคลในครอบครัว

2.6.1.2. ไม่มีโอกาสเห็นสังคมอื่น

2.6.1.3. รูปแบบสารสนเทศ:ภาษาพูด ภาษาเขียน

2.6.2. ยุควัติทางอุสาหกรรม

2.6.2.1. มีการทำหนังสือพิมพ์เพื่อสังคม

2.6.2.2. การพัฒนาสื่อสารสนเทศ:ด้านวิทยุกระจายเสียงเเละวิทยุโทรทัศน์

2.6.2.3. รูปแบบสารสนเทศ:หนังสือ วารสาร สื้อสารสนเทศด้านสื่อมวลชล

2.6.3. ยุคเทคโนโลยีระดับสูง

2.6.3.1. ยุคเเห่งสังคมข่าวสาร

2.6.3.2. ยุคเเห่งอิเล็กทรอนิกส์เเละคอมพิวเตอร์

2.6.3.3. มีการปรับปรุงรบบโทรคมนาคมให้สะดวกขึ้น

3. ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

3.1. ข้อมูลสารสนเทศสู่การพัฒนาความรู้

3.1.1. สังคมเกษตรกรรม

3.1.1.1. ยุคเเข่งขันกับธรรมชาติ รู้จักการเกษตร อารยธรรมการเพาะปลูก

3.1.2. สังคมอุตสาหกรรม

3.1.2.1. รู้จักการนำวัตถุดิบมาเเปรสภาพให้เป็นผลผลิตทางอุตสาหกรรม

3.1.3. สังคมข่าวสาร

3.1.3.1. ยุคการเเข่งขันระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง

3.1.3.2. ข่าวสารคืออำนาจ

3.1.4. ยุคเศรษฐกิจแห่งปัญญาเเละการเรียนรู้

3.1.4.1. ยุคนี้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นใช้ความรู้เป็นหลัก

3.2. กระบวนการจัดการความรู้

3.2.1. การเเสวงหาความรู้

3.2.2. การสร้าง

3.2.3. การเก็บ

3.2.4. การถ่ายทอด

3.2.5. การนำความรู้ไปใช้งาน

3.3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้

3.3.1. เทคโนโลยีการสื่อสาร

3.3.1.1. เข้าถึงความรู้ได้ง่าย ติดต่อสื่อสารง่าย ค้นหาข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ต

3.3.2. เทคโนโลยีสนับสนุนการทำงานร่วมกัน

3.3.2.1. ลดอุปสรรคเรื่องระยะทางเเละเวลา

3.3.3. เทคโนโลยีการจัดเก็บ

3.3.3.1. ช่วยในการจัดเก็บเเละจัดการความรู้ต่างๆ

3.3.4. สังคมเครือข่าย

3.3.4.1. ระบบสังคมออนไลน์กำลังเป็นที่นิยม

3.4. บทบาทที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร

3.4.1. ช่วยในการศึกษาด้านต่างๆ ช่วยในการดำรงชีวิต การทำธุรกิจ

3.5. ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ

3.5.1. ช่วยให้เรียนรู้ได้เร็วขึ้น

3.5.2. ช่วยบรรยากาศารเรียนดีขึ้น

3.5.3. ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

3.5.4. สามารถเรียนที่ไหนก็ได้ตอนไหนก็ได้

3.6. Application&Websites

3.6.1. Education

3.6.1.1. Mindmeister

3.6.1.2. Kahoot

3.6.1.3. Ted Talk

3.6.1.4. Photomath

3.6.1.5. Evernote

3.6.2. Life styles

3.6.2.1. Fitbit

3.6.2.2. Pinterest

3.6.2.3. Money lover

3.6.2.4. Grab

3.6.2.5. Plant Nanny

3.6.3. MOOC

3.6.3.1. Chula Mooc

3.6.3.2. Thai Mooc

3.6.3.3. EdX

3.6.3.4. Coursera

4. ห้องสมุด

4.1. ความหมายของห้องสมุด

4.1.1. สถานที่รวบรวมความรู้เเละให้บริการสารสนเทศทั้งในรูปสื่อสิ่งพิมพ์ ไม่ตีพิมพ และ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีการคัดเลือกเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการเเละความสนใจของผู้ใช้ โดยมีบรรณารักษ์ที่มีความรู้มาเป็นผู้ให้บริการ

4.2. ความสำคัญของห้องสมุด

4.2.1. ช่วยให้เรามีความรู้ทันสมัย

4.2.2. ช่วยสร้างนิสัยรักการอ่าน

4.2.3. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

4.2.4. ช่วยให้เรารู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่นเเละเคารพกฎระเบียบของสังคม

4.2.5. เป็นสถานที่เก็บรักษาวัฒนธรรมท้องถิ่นเเละให้ความเพลิดเพลิน

4.3. บทบาทของห้องสมุด

4.3.1. ด้านการศึกษา

4.3.1.1. เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เน้นศึกษาด้วยตัวเอง

4.3.2. ด้านวัฒนธรรม

4.3.2.1. เป็นเครื่องวัดความเจริญก้าวหน้า เป็นศูนย์รวมเเละรักษาวัฒนธรรม

4.3.3. ด้านเศรษฐกิจ

4.3.3.1. พัฒนาความสามารถ ช่วยสร้างงานเเละทำให้คนมีความรู้

4.3.4. ด้านการเมืองการปกครอง

4.4. วัตถุประสงค์ของห้องสมุด

4.4.1. การศึกษา

4.4.2. ความรู้ทันสมัย

4.4.3. การค้นคว้าวิจัย

4.4.4. ความสุขทางใจ

4.4.5. การพักผ่อน

4.5. ประเภทของห้องสมุด

4.5.1. ห้องสมุดเเห่งชาติ

4.5.1.1. รวบรวมเเละรักษาหนังสือที่พิมพ์ภายในประเทศรวมถึงของชาติ

4.5.2. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย

4.5.2.1. วัตถุประสงค์ขึ้นอยู่กับเเต่ละสถาบัน

4.5.3. ห้องสมุดโรงเรียน

4.5.3.1. ทรัพยากรส่วนใหญ่เป็นไปตามหลักสูตร

4.5.4. ห้องสมุดประชาชน

4.5.4.1. สนับสนุนความรู้ตลอดชีวิต

4.5.5. ห้องสมุดเฉพาะ

4.5.5.1. จัดตั้งโดยหน่วยงานต่างๆ

4.6. กิจกรรมของห้องสมุด

4.6.1. ส่งเสริมการอ่าน

4.6.2. ส่งเสริมความรู้เรื่องห้องสมุด

4.6.3. ส่งเสริมการเรียนการสอน

4.6.4. ส่งเสริมความรู้ทั่วไป

4.6.5. ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

4.7. องค์ประกอบของห้องสมุด

4.7.1. ผู้บริหาร

4.7.1.1. บทบาทสำคัญที่สุดในการดำเนินงาน มีอำนาจพิจารณาในเรื่องต่างๆ

4.7.2. อาคารเเละสถาที่

4.7.2.1. มีสถานที่พอเก็บหนังสือเเละโสตทัศน์

4.7.3. ครุภัณฑ์

4.7.3.1. เป็นเครื่องอำนวยความสะดวก ใช้ในการเก็บหนังสือเเละวัสดุต่างๆ

4.7.4. บุคลากร

4.7.4.1. บรรณารักษ์ (ผู้มีความรู้ด้านบรรณารักษ์ศาสตร์) บุคลากรร่วมดำเนินงานห้องสมุด

4.7.5. เงินอุดหนุน

4.7.5.1. ปัจจัยสำคัญในการจัดหาวัสดุสารนิเทศ ครุภัณฑ์และอุปกรณ์

4.7.6. วัสดุสารนิเทศ

4.7.6.1. จำเป็นต้องมีหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่างๆเเละโสตทัศน์วัสดุ

5. ประวัติห้องสมุด

5.1. ประวัติและพัฒนาการห้องสมุดในต่างประเทศ

5.1.1. สมัยโบราณ

5.1.1.1. อารยธรรมสุเมเรียน

5.1.1.1.1. ชนชาติเเรกที่ยันทึกเรื่องราวต่างๆลงบนเเผ่นดินเหนียว

5.1.1.1.2. ห้องสมุดที่มีชื่อเสียง:ห้องสมุดเมืองเทลโลว์

5.1.1.2. อารยธรรมบาบิโลเนียน

5.1.1.2.1. มีจดหมายเหตุเกิดเเล้ว

5.1.1.2.2. ห้องสมุดที่มีชื่อเสียง:ห้องสมุดเบอร์ซิปปา (ถูกทำลายไปแล้ว)

5.1.1.3. อารยธรรมอัสซีเรียน

5.1.1.3.1. พระเจ้าอัสสุรนิบาลสร้างห้องสมุดเเห่งเมืองนิเนเวห์เพื่อคัดลอกเเละเเปลวรรณกรรมต่างๆเก็บไว้ เป็นห้องสมุดแผ่นดินเหนียวที่ใหญ่ที่สุดเเละเป็นรากฐานของห้องสมุดทั่วโลก

5.1.1.4. อารยธรรมอียิปต์

5.1.1.4.1. นำต้นปาปิรัสมาทำเป็นเเผ่นกระดาษปาปิรัสใช้เเทนแผ่นดินเหนียว

5.1.1.4.2. อักษรภาพไฮโรกลิฟฟิค

5.1.1.5. อารยธรรมกรีก

5.1.1.5.1. ยุคทองของอารยธรรม

5.1.1.5.2. นิยมสร้างห้องสมุดส่วนตัว

5.1.1.5.3. บันทึกลงแผ่นหนังโคเดกซ์

5.1.1.5.4. พระเจ้าปะโตเลมีที่1ทรงโปรดให้สร้างห้องสมุดอเล็กซานเดรีย(ห้องสมุดที่ใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ)

5.1.1.6. อารยธรรมโรมัน

5.1.1.6.1. รุ่งเรืองคล้ายอารยธรรมกรีก

5.1.1.6.2. สร้าห้องสมุดเพื่อส่งเสริมบารมี

5.1.1.6.3. จักรพรรดิออกัสทรงโปรดให้สร้างห้องสมุดประชาชนเขาปาลาไตน์(ห้องสมุดประชาชนเเห่งเเรก)

5.1.2. สมัยกลาง

5.1.2.1. เป็นยุคมืด(ภัยสงคราม ไข้ทรพิษระบาด)

5.1.2.2. ใช้หนังสัตว์และกระดาษปาปิรัสเป็นวัสดุในการบันทึก

5.1.3. สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา

5.1.3.1. ศตวรรษที่15

5.1.3.1.1. รวบรวมต้นฉบับจำนวนมากไว้ที่นครวาติกัน

5.1.3.2. ศตวรรษที่16

5.1.3.2.1. แท่นพิมพ์กูเตนเบิร์ก ทำให้ผลิตหนังสือได้มาก

5.1.3.3. ศตวรรษที่17

5.1.3.3.1. การศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างมีเเบบแผน จัดตั้งห้องสมุดมหาวิทยาลัย

5.1.3.4. ศตวรรษที่18

5.1.3.4.1. ระบบจัดหมวดหนังสือเเบ่งออกเป็น5ประเภท

5.1.3.5. ศตวรรษที่19

5.1.3.5.1. จัดตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ศึกษาวิชาบรรณารักษ์

5.1.4. สมัยใหม่

5.1.4.1. ศตวรรษที่20

5.1.4.2. การเปลี่ยนเเปลงการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย

5.1.4.3. วัสดุไม่ตีพิมพ์ประเภทโสตทัศนูปกรณ์ต่างๆ

5.1.4.4. นำเทคโนโลยีมาใช้ในห้องสมุด

5.1.4.5. พระราชบัญญัติ

5.2. ประวัติเเละพัฒนาการห้องสมุดในไทย

5.2.1. สมัยสุโขทัย

5.2.1.1. พ่อขุนรามคำเเหงทรงประดิษฐ์อักษรไทย

5.2.1.2. จารึกลงบนเเผ่นหินหรือเสาหิน

5.2.1.3. หลักศิลาจารึกเป็นหนังสือเรียนเล่มเเรกของไทย

5.2.1.4. มีการส่งทูตไปสืบศาสนาที่ลังกา

5.2.1.4.1. จารึกบนใบลาน

5.2.1.4.2. พุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์พร้อมคัมภีร์พระไตรปิฎก

5.2.1.4.3. หอไตร:เก็บหนังสือทางพุทธศาสนา

5.2.1.5. ไตรภูมิพระร่วง:วรรณกรรมสำคัญทางศาสนา

5.2.2. สมัยกรุงศรีอยุธยา

5.2.2.1. สร้างหอหลวงเพื่อเก็บหนังสือราชการ

5.2.2.2. พ.ศ.2310หอไตรเเละหอหลวงถูกพม่าทำลาย

5.2.3. สมัยธนบุรี

5.2.3.1. พระเจ้าตากสินได้โปรดให้ขอยืมพระไตรปิฎกจากนครศรีธรรมราชสร้างหอพระไตรปิฎกหลวง(หอหลวง)

5.2.4. สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

5.2.4.1. สร้างหอมณเฑียรธรรม

5.2.4.2. หอสมุดพุทธศาสนา

5.2.4.3. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามห้องสมุดประชาชนเเห่งเเรกของไทย

5.2.4.4. ร.5 ยุคห้องสมุดสมัยใหม่หอสมุดวชิรญาณสำหรับพระนคร

5.2.5. ปัจจุบัน

5.2.5.1. ห้องสมุดเพื่อการศึกษาค้นคว้าเเละพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ