การสื่อสารแบบกลุ่มขนาดเล็ก และ การสื่อสารแบบทีม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การสื่อสารแบบกลุ่มขนาดเล็ก และ การสื่อสารแบบทีม by Mind Map: การสื่อสารแบบกลุ่มขนาดเล็ก  และ การสื่อสารแบบทีม

1. การสื่อสารกลุ่มย่อย ( Small group communication)

1.1. . ขนาดกลุ่ม (Group size)

1.1.1. มี3-6คนขึ้นไปหรืออาจจะถึง 966 คน สมาชิกแต่ละคนต้องมีทักษะและแรงจูงใจเพื่อจัดการกลุ่มและความรู้

1.2. . การพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Interdependence)

1.2.1. การพึ่งพากันมีความเกี่ยวข้องและใกล้ชิดกับทฤษฎีระบบมากสุด ซึ่งระบุว่าเป็นการทำร่วมกันทุกส่วนอย่างเป็นระบบ

1.3. . งาน(Task)

1.3.1. ถ้าไม่มีงาน กลุ่มจะไม่เกิดขึ้น งานถูกกำหนดให้เป็นกิจกรรมซึ่งการตัดสินใจไม่ได้เกิดขึ้นจากภายนอก ความสำเร็จเกิดขึ้นจากการยอมรับของสมาชิก มี2ลักษณะ คือ

1.3.1.1. 3.1 กลุ่มย่อยที่ใช้การรวมงาน (Additive task) เป็นการให้แต่ละคนทำงานของตนแล้วรวมงานของแต่ละคนรวมกันให้สมบูรณ์

1.3.1.2. 3.2 กลุ่มย่อยที่ใช้การเชื่อมงาน (Conjunctive task) งานที่ร่วมมือกันทำตั้งแต่ต้นจนจบ

2. คุณสมบัติรองของการสื่อสารกลุ่มเล็ก

2.1. . บรรทัดฐาน (Norm)

2.1.1. กฎเกณฑ์ที่เป็นตัวบังคับหรือควบคุมการกระทำของสมาชิกกลุ่ม หรือเป็นแนวทางที่ออกแบบควบคุมความประพฤติของสมาชิกกลุ่มแบ่งเป็น 4 ประเภท

2.1.1.1. 1.1 บรรทัดฐาน (Norm) ช่วยให้กลุมสามารถทำงานประสบความสำเร็จ เช่น การเลือกวิธีการที่ดีที่สุด

2.1.1.2. 1.2 บรรทัดฐานที่เกี่ยวกับกระบวนการทำงาน (Task norm) แสดงให้ถึงวิธีการที่กลุ่มจะปฏิบัติการ การกำหนกระยะเวลาในแต่ละขั้นตอน

2.1.1.3. 1.3 บรรทัดฐานทางสังคม (Social norm) การบังคับวิธีการมีส่วนร่วมของสมาชิกกลุ่มในการสื่อสารระหว่างบุคคล รวมถึงการระบุชื่อแรก

2.1.1.4. 1.4 การรับรอง (Sanction) ขบวนการสร้างระบบควบคุมและโทษทางสังคม

2.2. . เอกลักษณ์ (Identity)

2.2.1. ขอบเขตทางด้านจิตใจและกายภาพที่แตกต่างระหว่างสมาชิกของกลุ่ม กับผู้ที่ไม่ใช่สมาชิกกลุ่ม ซึ่งมีความคิดที่ เชิงบวก เชิงลบ รวมถึงความผิดหวัง ไม่พอใจ

2.3. . ลักษณะสำคัญของการกำหนดกลุ่มย่อยแบ่งออกเป็น 4 แบบ คือ

2.3.1. 3.1 แก้ปัญหาด้วยการพูดคุย (Problem solving talk) ลักษณะที่ช่วยให้ประสบความสำเร็จในงานกลุ่มเพราะกลุ่มมี่เป้าหมายของวัตถุประสงค์ อยู่ที่ความสำเร็จของงาน สมาชิกต้องมีการพูดคุยในงานครั้งนี้

2.3.2. 3.2 การพูดคุยเกี่ยวกับบทบาทของสมาชิกกลุ่ม (Role talk) ลักษณะการคุยที่เกี่ยวกับบทบาทสมาชิกของกลุ่มที่กำหนดทั้งเนื้อหา และความสัมพันธ์ของการสื่อสาร

2.3.3. 3.3 การพูดคุยอย่างมีสติ (Consciousness raising talk) ลักษณะการคุยที่เป็นความภาคภูมิใจและเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อพัฒนากลุ่ม กำลังใจ และตัวตนของกลุ่ม พูดคุยให้เกิดความพึงพอใจของสมาชิกกลุ่ม

2.3.4. 3.4 การพบปะพูดคุย (Encounter talk) ประกอบด้วยการสื่อสารระหว่างบุคคล รวมถึงการเปิดเผยตนเอง การตอบสนอง และความเห็นอกเห็นอกเห็นใจ เมื่อสมาชิกกลุ่มเปิดเผยกับตอบสนองความต้องการแต่ละคน รับฟังกัน

2.4. . ประเภืของกลุ่มย่อยประกอบด้วย 8 กลุ่ม

2.4.1. 4.1 . ประเภทของกลุ่มปฐมภูมิ (Primary group) ประกอบด้วยการมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิดของสมาชิกกลุ่มใช้พฤติกรรมการสื่อสารระหว่างบุคคลหลายประการ

2.4.1.1. เปิดเผยตนเอง

2.4.1.2. การเอาใจใส่

2.4.1.3. ความไว้วางใจ

2.4.1.4. ความเข้าใจ

2.4.1.5. รับรู้

2.4.2. 4.2 กลุ่มทางสังคม (Social group) จากกลุ่มปฐมภูมิที่มีสมาชิกประกอบด้วยบุคคลที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน หรือมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

2.4.2.1. ทีมกีฬา

2.4.3. 4.3 กลุ่มช่วยเหลือตนเอง (Self-help group) ประกอบด้วยสมาชิกร่วมกันแก้ไขปัญหาหรือสถานการณ์

2.4.3.1. กลุ่มบำบัด

2.4.4. 4.4 กลุ่มเรียนรู้ (Learning group) เพื่อเพิ่มทักษะ ความสามารถ ของสมาชิก สมาชิกหวังว่าจะได้รับรู้เพิ่มเติม หรือปรับปรุงพฤติกรรมของตนเอง

2.4.5. 4.5 กลุ่มบริการ (Service group) กลุ่มอาสาสมัครที่มอบเวลา พลังงานและความพยายามที่จะช่วยเหลือผู้อื่นในสิ่งที่ต้องการทำงาน

2.4.6. 4.6 กลุ่มสาธารณะ (Public group) สมาชิกในกลุ่มมีปฏิสัมพันธ์เพื่อประโยชน์ของกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ปฎิสัมพันธ์จะเกิดขึ้นระหว่างกลุ่มกับประชาชนทั่วไป

2.4.6.1. ประชุมทางวิชาการ

2.4.6.2. มีส่วนร่วมในการอภิปราย

2.4.7. 4.7 กลุ่มทำงาน (Work group) เกิดขึ้นภายในองค์กร สมาชิกมีความรับผิดชอบ การทำงานความสามารถ และสมาชิกกลุ่มจะต้องมีส่วนร่วมในความสำเร็จของงาน

2.4.8. 4.8 กลุ่มเสมือน (Virtual Group) การสร้างสมาชิกที่ทำงานด้วยกัน แตกต่างกันด้านสถานที่ การสร้างสมาชิกทำผ่านเทคโนโลยีการสื่อสาร

2.4.8.1. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

2.4.8.2. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความสนใจ

3. เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารกับทีม

3.1. . Slack - www.slack.com

3.2. . Ryver - Ryver: Group Chat + Task Manager + Workflow Automation IN ONE APP

3.3. . Microsoft Teams -https://products.office.com/en-us/microsoft-teams/group-chat-software

3.4. . Workplace - https://www.facebook.com/workplace

3.5. .Zoho Cliq -https://www.zoho.com/cliq/

3.6. . Fleep - Fleep -https://fleep.io/

3.7. .Lenke - https://slenke.com/

3.8. .Flock - https://flock.com/

3.9. .Rocket Chat - Rocket.Chat - Free, Open Source, Enterprise Team Chat

3.10. .

4. เกณฑ์การเลือกเครื่องมือสื่อสาร (Aston,2018)

4.1. การส่งข้อความ -การสื่อสารด้วยช้อความเป็นพื้นฐานของการสื่อสาร เครื่องมือสื่อสารที่ดีที่สุดนำเสนอข้อความได้หลากหลายวิธี

4.2. การส่งข้อความแบบกลุ่ม / ส่วนตัว (Group/private messaging) - มีคุณลักษณะการส่งข้อความทั้งแบบความส่วนตัว 1 ต่อ 1 และข้อความแบบกลุ่ม

4.3. การทำงานแบบคู่ขนาน องค์ประกอบที่สำคัญของการสื่อสารคือการรู้ว่ากำลังทำงานตำแหน่งไหนกับโครงการ เครื่องมือสื่อสารแบบคู่ขนานที่ให้บันทึกหารค้นหาการสื่อสารท่ผ่านมาได้อย่างง่ายดาย

4.4. การแจ้งเตือน - เมื่อใดก็ตามที่มีข้อความโทรการเปลี่ยนแปลงหรือการสื่อสารประเภทใดๆ เกิดขึ้นผู้ที่เกี่ยวข้องต้องได้รับการสื่อสารประเภทใดๆ เกิดขึ้นผู้ที่เกี่ยวข้องต้องได้รับการแจ้งเตือน ให้มีการfeed แจ้งเตือนสิ่งที่ เกี่ยวข้องทั้งหมด

4.5. การโทรผ่านวิดีโอ - การสนทนาทางวิดีโอ เป็นคุณสมบัติ ที่จำเป็นสำหรับทีม และเป็นเครื่องมือที่เป็นที่ต้องการสไหรับการจัดการประชุมกับลูกค้านอกเมือง สิ่งที่ต้องการ คือ คุณภาพของวิดีโอสูง รองรับแลพสามารถเข้าถึงได้ง่าย

4.6. การแชร์หน้าจอ สามารถแบ่งปันสิ่งที่เห็นบนหน้าจอกับสมาชิกในทีมได้อย่างแม่นยำและแนะนำพวกเขาผ่านรายละเอียดสามารถประหยัดเวลาได้อย่างมาก สิ่งนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับเครื่องมือสื่อสารทางธุรกิจผ่านดิจิทัล

4.7. บูรณาการ - เครื่องมือสื่อสารแบบสแตนด์อโลน จำเป็นต้องรวมเข้ากับแพลตฟอร์มที่ทีมงานกำลังบรรยายสรุป และสร้างงานของพวกเขาเพื่อให้สามารถผสานเข้ากับซอฟต์แวร์การจัดการโครงการซอฟต์แวร์การจัดหาทรัพยากรเครื่องมือการวางแผน

4.8. ราคา ซอฟต์แวร์การสื่อสารแบบทีมมักจะมีให้ฟรีในเวอร์ชั่นพื้นฐานและโดยทั่วไปเราจะเห็นเครื่องมือการสื่อสารราคาอยู่ในช่อง $3-$7 / ผู้ใช้ / เดือน

5. วิธรีการสร้างทีมสื่อสารโดยใช้สื่อสังคม

5.1. . ผู้สร้างเนื้อหา (Source content creator) ผู้ที่ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับหัวข้อและการสร้างข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน ได้ทั้งลายลักษณ์อักษร เสียง หรือ วิดิโอขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์

5.2. . นักยุทธศาสตร์ดิจิทัล (Digital strategist) ควรมีความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการตลาดดิจิทัล

5.3. . ผู้จัดการโครงการ (Project manager) หน้าที่แปลงกลยุทธ์สื่อสังคมเป็นแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับภารกิจตามปฏิทินที่วางแคมเปญไว้ตามระยะเวลาของแผนการดำเนินงาน ประสานงานกับสมาชิกทีมเพื่อให้แผนเป็นปัจจุบันและมีการประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ

5.4. .ผู้จัดการเนื้อหา (Content manager) ผู้ทำหน้าที่นำเนื้อหาต้นฉบับและปรับแต่งแก้ไขให้เหมาะสมกับช่องทางสื่อสังคมต่างๆ

5.5. . ผู้ผลิตภาพ (Visual content producer) หน้าที่เป็นนักออกแบบกราฟิก รับผิดชอบการตัดต่อวิดิโอ รับผิดชอบในการสร้างองค์ประกอบภาพ

5.6. . ผู้จัดการสื่อสังคม (Social media manager) ผู้ทำหน้าที่ปล่อยหรือโพสต์เนื้อหาและองค์ประกอบของภาพในช่องทางสื่อสังคมต่างๆ

6. จรรยาบรรณของสมาชิกกลุ่มย่อย

6.1. . อย่าขัดขวางการให้ข้อมูลของสมาชิกกลุ่ม

6.2. . พูดแต่ความจริงและถูกต้องเสมอเมื่อใช้ข้อมูลและความคิดเห็นควรนำเสนออย่างเป็นธรรม

6.3. . สมาชิกกลุ่มควรเปิดเผยแหล่งที่มาของข้อมูลและความคิดเห็นโดยสร้างความมั่นใจว่าข้อมูลที่ได้ไม่ใชาข่าวลือ

6.4. . เคารพความขัดแย้งด้วยการตระหนักถึงความหลากหลายของการโต้แย้งที่เกิดขึ้น