คอมพิวเตอร์

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
คอมพิวเตอร์ by Mind Map: คอมพิวเตอร์

1. ความหมาย

1.1. คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถรับโปรแกรมและข้อมูลประมวลผล สื่อสารเคลื่อนย้ายข้อมูลและแสดงผลลัพธ์ได้

1.2. เทคโนโลยรสารสนเทศ หมายถึง การนำเทคโนโลยีมาใช้งานเกี่ยวกับการประมวลผล ข้อมูลเป็นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร เพื่อช่วยในการสื่อสารและส่งข้อมูล

2. วิวัฒนาการคอมพิวเตอร์

2.1. ศตวรรษที่ 17 ชาวฝรั่งเศษ ชื่อ Blaise Pascal ได้สร้างเครื่องคำนวณแบบใช้เฟืองเครื่องแรกที่สามารถบวกลบได้ ชาวเยอร์มัน ชื่อ Gottried Wilhelm von Leibniz ได้สร้างเครื่องคิดเลขเครื่องแรกที่สามารถคูณหารได้

2.2. ศตวรรษที่ 19 ชาวฝรั่งเศษ ชื่อ joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเครื่องทอผ้าที่ตั้งโปรแกรมโดยใช้บัตรเจาะรูได้ (บัตรเจาะรูถูกพัฒนาเพื่อเป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ ) ชาวอังกฤษ ชื่อ Charles Babbage ได้สร้างเครื่องแก้สมการโดยใช้พลังงานไอน้ำ เรียกว่า difference enginge และเสนอทฤษฎีคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ (บิดาคอมพิวเตอร์) Augusta Ada Byron ถูกยกย่องว่าเป็นนักเขียนโปรแกรมคนแรกของโลก

2.3. ปี 1886 Dr.Herman Hollerith ได้พัฒนาเครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรูแบบ electromechanical

2.4. ปี 1996 ก่อตั้งบริษัทเครื่องจักรจัดเรียงชื่อ Tabulating Machine Company

2.5. ปี 1911 เข้าหุ้นกับบริษัทอื่นอีก2บริษัท เป็น Computing - Tabulating - Recording - Company

2.6. ปี 1924 เปลี่ยนชื่อเป็น International Business Corporation หรือ IBM

3. ยุคของคอมพิวเตอร์

3.1. ยุคที่ 1 ค.ศ.1951-1958 (หลอดสูญญากาศ) คอมพิวเตอร์กินไฟมาก เกิดความร้อนมาก เครื่องมีขนาดใหญ่ บัตรเจาะรูใช้เก็บข้อมูล ภาษาที่ใช้ควบคุมการทำงานคือ ภาษาเครื่อง

3.2. ยุคที่ 2 ค.ศ.1959-1964 (ทรานซิสเตอร์) คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง กินไฟน้อย ราคาถูก ใช้วงแหวน แม่เหล็กเป็นหน่วยความจำ ภาษาคอมพิวเตอร์ คือ ภาษาแอสแซมบลี้

3.3. ยุคที่ 3 ค.ศ.1956-1970 (วงจรรวม) วงจรรวม หรือ ไอซี เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกบรรจุลงใน แผ่นซิลิคอน เรียกว่า ซิป

3.4. ยุคที่ 4 ค.ศ. 1971 (วีแอลเอสไอ) พัฒนาเอาวงจรรามหลายๆอัน เรียกว่า LSI ลงในซิป cpu ประกอบไปด้วย หน่วยควบคุมและหน่วยคำนวณ/ตรรก

3.5. ยุคที่ 5 ค.ศ.1980-1989 (เครือข่าย) ช่วยจัดการและตัดสินใจ จึงเกิดชาสา MIS ค.ศ.1980 ญี่ปุ่นพยายามสร้างให้คอมพิวเตอร์คิดและตัดสินใจได้ เรียกว่า AI

4. องค์ประกอบคอมพิวเตอร์

4.1. ฮาร์ดแวร์ หมายถึงส่วนที่ประกอบเป็นคอมพิวเตอร์ ที่เราสามารถมองเห็นและจับได้

4.1.1. หน่วยรับข้อมูล (input unit) ทำหน้าที่รับคำสั่งและข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ เช่น เม้าส์ คีย์บอร์ด จอภาพ กล้องดิจิทัล สแกนเนอร์

4.1.2. หน่วยประมาลผลกลาง (CPU) ทำหน้าที่คำนวณทั้งทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมถึงคำสั่งที่ได้รับ

4.1.2.1. หน่วยคำนวณและตรรกะ (ALU) ทำงานเกี่ยวกับการคำนวณ เช่น บวก ลบ คูณ หาร ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง การเปรียบ เทียบ ตรวจสอบเงี่อนไขว่า จริงหรือเท็จได้

4.1.2.2. หน่วยควบคุม (Control Unit) ทำหน้าที่ควบคุมขั้นตอนการประมาลผล การประสานงานกับอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล แสดงผล และหน่วยความจำ สำรอง

4.1.3. หน่วยความจำ (Memory Unit) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งจากหน่วยรับข้อมูล ส่งไป cpu และเก็บผลลัพธ์เตรียมส่งไปหน่วยแสดงผล จำแนกการใช้งานได้ 2 ประเภท

4.1.3.1. หน่วยความจำหลัก

4.1.3.1.1. ROM เป็นหน่วยความจำที่มีข้อมูลอยู่แล้ว ไม่สามารถเขียนเพิ่มได้ ถึงไม่มีกระแส ไฟฟ้าไปเลี้ยงข้อมูลก็ไม่หาย

4.1.3.1.2. RAM เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลได้ แต่ต้องมีกระแสไฟฟ้าเท่านั้น เมื่อไม่มี กระแสไฟฟ้ามาเลี้ยง หน่วยความจำจะ หายไป

4.1.3.2. หน่วยความจำสำรอง เป็นหน่วยที่อาศัยสื่อบันทึก ข้อมูลและอุปกรณ์รับ-ส่ง ได้แก่

4.1.3.2.1. ฮาร์ดดิสก์ ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่อง

4.1.3.2.2. ฟล็อปปี้ดิส เป็บอุปกรณ์บันทึกข้อมูล บรรจุได้ 1.44 เมกะไบต์

4.1.3.2.3. แผ่นซีดี เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล ความจุสูง

4.1.3.2.4. รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่สามารถยกพาไปไหนก็ได้ เช่น Flash Drive

4.1.3.2.5. การ์ดเมมโมรี เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลขนาดเล็ก ใช้กับกล้องดิจิทัล มือถือเป็นต้น

4.1.4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ผ่านการประมวล ผลแล้ว หรือผ่านการคำนวณแล้ว

4.2. ซอฟต์แวร์ หมายถึงส่วนที่สัมผัสไม่ได้ (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์แวร์สำหรังคอมพิวเตอร์

4.2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ให้ประสานกัน และควบคุมขั้นตอนการทำงานต่างๆ เช่ นmicrosoft billgate, mac os, linux

4.2.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้กับงานได้ต่างๆตามความต้องการของผู้ใช้ สามารถนำมาใช้ได้โดยตรง เช่น เว็บเบราว์เซอร์

4.3. บุคลากร คือผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป (User) สามารถทำงานตามหน้าที่ในหน่วยงานนั้นๆ

4.4. ข้อมูลและสารสนเทศ

4.4.1. ข้อมูล (Data)หมายถึงข้อเท็จจริงหรือเหตุการ์ณที่ เกิดขึ้น

4.4.2. สารสนเทศ (Information)หมายถึง ข้อสรุปต่างๆที่ได้ จากการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ เช่นเกรดเฉลี่ย