ระบบไหลเวียนโลหิต

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบไหลเวียนโลหิต by Mind Map: ระบบไหลเวียนโลหิต

1. หัวใจ

1.1. ปริมาตรเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจ

1.1.1. Cardiac output(CO)

1.1.1.1. Heart rate (อัตราการเต้นของหัวใจ)

1.1.1.2. Stroke volume (ปริมาตรเลือดส่งออกจากหัวใจต่อการบีบตัวหนึ่งครั้ง)

1.1.1.2.1. End diastolic volume(EDV) ผลต่างระหว่างปริมาตรเลือดในหัวใจก่อนบีบตัว

1.1.1.2.2. End systolic volume(ESV) ปริมาตรเลือดในหัวใจหลังบีบตัว

1.2. การควบคุมการทำงานของหัวใจ

1.2.1. ปัจจัยที่ควบคุมการทำงานของหัวใจแบ่งเป็น 3 ประเภท

1.2.1.1. การควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ

1.2.1.2. การควบคุมฮอร์โมน(Hormonal control)

1.2.1.3. การควบคุมโดยหัวใจเอง(Auto regulation)

1.2.1.3.1. การควบคุมตนเองชนิดความยาวกล้ามเนื้อเปลี่ยน(Heterometric autoregulation)

1.2.1.3.2. การควบคุมตนเองชนิดความกล้ามเนื้อไม่เปลี่ยน(hemometric autoregulation)

1.3. โครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ

1.3.1. หัวใจห้องบน(Atrium)

1.3.2. หัวใจห้องล่าง(Ventricle)

1.3.3. ลิ้นหัวใจ

1.3.3.1. ลิ้นเอ-วี (A-V Valves)

1.3.3.2. ลิ้นเซมิลูนาร์(Semilunar Valve)

1.4. เนื้อเยื่อหัวใจ(Cardiac Tissue)

1.4.1. กล้ามเนื้อหัวใจ

1.4.1.1. คุณสมบัติ

1.4.1.1.1. ทำงานเป้นไปตามกฎ All or None Law

1.4.1.1.2. ทำงานได้เอง (Autonomy)

1.4.1.1.3. ทำงานเป็นไปตามกฎของ Frank-Starling-Law

1.4.2. กลุ่มเซลล์เพซเมกเกอร์

1.4.2.1. Sino-Atrial : SA Node

1.4.2.2. Atrio-Ventricular Node : AV Node

1.4.3. กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าพิเศษ

1.5. คุณสมบัติทางไฟฟ้าของหัวใจ

1.5.1. การสร้างไฟฟ้าของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ

1.5.1.1. 5 ระยะ

1.5.1.1.1. ระยะ0 ระยะดีโพลาไรเซชั่น (Depolarization phase

1.5.1.1.2. ระยะ1 ระยะเริ่มต้นของรีโพไรเซชั่น (Early repolarization phase)

1.5.1.1.3. ระยะ2 ระยะส่วนราบบนโค้งกราฟ (Plateau action potentil)

1.5.1.1.4. ระยะ3 รีโพลาไรเซชั่น (Repolarization phase)

1.5.1.1.5. ระยะ4 ระยะศักย์พัก (Resting potential phase)

1.5.2. การสร้างไฟฟ้าของเซลล์เพซเมกเกอร์

1.5.2.1. 3 ระยะ

1.5.2.1.1. ระยะศักย์พัก

1.5.2.1.2. ระยะดีโพลาไรเซชั่น

1.5.2.1.3. ระยะรีโพลาไรเซชั่น

1.6. คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram : ECG)

1.6.1. องค์ประกอบหลัก

1.6.1.1. แกนตั้ง (ความดัน)

1.6.1.2. แกนนอน (เวลา)

1.6.2. แบ่งเป็น 3 ชนิด

1.6.2.1. คลื่น P (P-Wave)

1.6.2.2. QRS Complex

1.6.2.3. คลื่น T (T-Wave)

1.7. การทำหน้าที่เป็นปั๊มของหัวใจ

1.7.1. วงจรหัวใจ (Cardiac Cycle)

1.7.1.1. ระยะที่1 การบีบตัวของหัวใจห้องบน (Atrial systole)

1.7.1.2. ระยะที่2 การบีบตัวแบบปริมาตรคงที่ (Isovolumic ventricular)

1.7.1.3. ระยะที่3 การพุ่งออกอย่างรวดเร็ว (Rapid Ejaction)

1.7.1.4. ระยะที่4 ระยะก่อนการคลายตัวของหัวใจ ( Protodiastole)

1.7.1.5. ระยะที่5 การคลายตัวแบบปริมาตรคงที่ (Isovorumic relaxation)

1.7.1.6. ระยะที่6 การเติมเลือดเข้าสู่หดัวใจอย่างรวดเร็ว (Rapid ventricular)

1.7.1.7. ระยะที่7 การเติมเลือดเข้าสู่หัวใจห้องล่างอย่างช้า (Reduced ventricular)

1.7.2. เสียงหัวใจ (Heart Sounds)

1.7.2.1. เสียงที่1 (1st Heart sounds : S1)

1.7.2.1.1. เกิดเมื่อหัวใจห้องล่างเริ่มบีบตัว

1.7.2.1.2. ความดันเพิ่มขึ้น ลิ้นเอ-วี ปิด ลิ้นเซมิลูนาร์เปิด

1.7.2.2. เสียงที่2 (2nd Heart sound : S2 )

1.7.2.2.1. เกิดเมื่อหัวใจบีบไล่เลือดสู่ปอดและร่างกาย

1.7.2.2.2. ลิ้นหัวใจเซมิลูนาร์ปิด

2. การไหลเวียนเลือดในร่างกาย

2.1. แบ่งเป็น2 ส่วนใหญ่ๆ

2.1.1. การไหลเวียนเลือดเลี้ยงกาย(Systematic circulation)

2.1.2. การไหลเวียนเลือดผ่านปอด(Pulmonary circulation)

3. หลอดเลือด(Blood Vessels)

3.1. ลักษณะโครงสร้างของหลอดเลือด

3.1.1. ชั้นใน(Tunica interna)

3.1.2. ชั้นกลาง(Tunica media)

3.1.3. ชั้นนอก(Tunica exterma)

3.2. ชนิดของหลอดเลือด

3.2.1. หลอดเลือดแดง(Artery)

3.2.2. หลอดเลือดดำ(Vein)

3.2.3. หลอดเลือดฝอย(Capilaries)

3.3. การควบคุมการทำงานของหลอดเลือด

3.3.1. กลไกลการควบคุมเฉพาะที่(Local regulation)

3.3.2. การควบคุมทั้งร่างกาย(Systematic regulation)

3.3.2.1. ตัวรับแอลฟา(Alpha-receptor)

3.3.2.2. ตัวรับเบต้า(Beta-receptor)

3.3.2.3. ตัวรับแกมม่า(Gamma-receptor)

3.3.3. การควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ

3.3.3.1. ระบบประสาทซิมพาเทติกจากไขสันหลังระดับ T1-T12 และ L1-L2

3.3.3.2. ระบบประสาทซิมพาเทติกที่มายังกล้ามเนื้อ

3.3.3.2.1. ซิมพาเทติก อะดรีเนอร์จิค(Sympathetic adrenergic)

3.3.3.2.2. ซิมพาเทติก โคลิเนอร์จิก (Sympathetic cholinergic)

3.3.4. สารเคมีและโฮร์โมนในกระแสเลือดกับการทำงานของหลอดเลือด

3.3.4.1. ฮอร์โมนเอฟิเนฟรีน

3.3.4.1.1. กระตุ้นตัวรับเบต้า

3.3.4.1.2. หลอดเลือดในกล้ามเนื้อหัวใจและสมองขยายตัว

3.3.4.2. ฮอร์โมนออกซิโทซิน(Oxytocin)

3.3.4.2.1. กระตุ้นทำให้หลอดเลือดเกิดการหดตัว

3.4. การเคลื่อนที่ของหลอดเลือด

3.4.1. การไหลของเลือดมีความเร็วสูงสุดที่เอออร์ตา

3.4.2. หลอดเลือดฝอยมีการไหลของเลือดช้าที่สุด

3.4.3. พื้นที่หน้าตัดมากช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนสารได้มากและเร็วขึ้น

3.5. ความดันโลหิต

3.5.1. การควบคุมความดันโลหิต

3.5.1.1. ตัวรับการเปลี่ยนแปลงความดันโลหิต(Sensors)

3.5.1.2. ศูนย์ควบคุมการทำงานของหัวใจและหลอดเลือดในเมดัลลา

3.5.1.3. ส่วนแสดงผล(Effector)

3.5.1.4. รีเฟลกซ์ปรับความดันโลหิต (Baroreceptor reflex)

3.5.2. ความดันโลหิตแดง

3.5.2.1. ความดันซิสโตลิค (Systolic pressure:SP)

3.5.2.1.1. ความดันสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว

3.5.2.1.2. ปกติมีค่าเฉลี่ยประมาณ 120 มิลลิเมตรปรอท

3.5.2.2. ความดันไดแอสโตลิค(Diastolic pressure:DP)

3.5.2.2.1. ความดันต่ำสุดขณะหัวใจคลายตัว

3.5.2.2.2. ปกติมีค่าเฉลี่ยประมาณ 80 มิลลิเมตรปรอท

3.5.2.3. ความดันชีพจน(Pulse pressure:PP)

3.5.2.3.1. ผลต่างของความดันขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัว

3.5.2.3.2. ค่าปกติประมาณ 40 มิลลิเมตรปรอท

3.5.2.4. ความดันเลือดแดงเฉลี่ย(MAP)

3.5.2.4.1. 1/3(SP + 2DP)

3.6. หลอดเลือดฝอยและการไหลเวียนจุลภาค

3.6.1. แรงดัน4แรง

3.6.1.1. แรงดันน้ำในหลอดเลือดฝอย

3.6.1.2. แรงดันน้ำของสารระหว่างเซลล์

3.6.1.3. แรงดันออสโมติกจากสารโปรตีนในพลาสมา

3.6.1.4. แรงดันออสโมติกจากโปรตีนในช่องว่างระหว่างเซลล์

3.6.2. แรงดันสุทธิ

3.6.2.1. บริเวณหลอดเลือดฝอยที่ต่อกับหลอดเลือดแดง

3.6.2.2. บริเวณหลอดเลือดฝอยที่ต่อกับหลอดเลือดดำเล็ก

4. ระบบน้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน(Lymphatic and Immune system

4.1. ระบบน้ำเหลือง(Lymphatics system)

4.1.1. ควบคุมปริมาณสารโปรตีนในสารน้ำนอกเซลล์

4.1.2. ทำลายสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย

4.1.3. สร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย

4.2. ระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย(Immune system)

4.2.1. ชนิด

4.2.1.1. ภูมิคุ้มกันชนิดไม่จาเพาะหรือภูมิคุ้มกันที่มีมาแต่กำเนิด (Nonspecific immunity)

4.2.1.1.1. ระบบปกคลุมร่างกาย (Barrier)

4.2.1.1.2. การกลืนของเซลล์ (Phagocytosis หรือ Cell - eating)

4.2.1.1.3. การอักเสบ (inflammation)

4.2.1.1.4. การสร้างเซลล์เนอเชอรัลคิลเลอร์ (natural killer cell, NK cell)

4.2.1.1.5. การสร้างคอมพลีเมนต์ (complement)

4.2.1.2. ภูมิคุ้มกันแบบจำเพาะ (specific immunity)

4.2.1.2.1. ภูมิคุ้มกันแบบพึ่งเซลล์ (Cell-Mediated Immunity)

4.2.1.2.2. ภูมิคุ้มกันแบบพึ่งแอนติบอดี (Humoral immunity)

4.2.2. กลไกตอบสนองทางระบบภูมิคุ้มกัน

4.2.2.1. Primary response

4.2.2.2. Secondary response

5. เลือด

5.1. ส่วนประกอบของเลือด

5.1.1. พลาสมา(Plasma)

5.1.1.1. อัลบูมิน(Albumin)

5.1.1.1.1. ขนส่งสารในร่างกาย

5.1.1.1.2. รักษาน้ำไว้ในหลอดเลือดผ่านการควบคุมแรงดันออสโมติก

5.1.1.2. โกลบูลิน(Globulin)

5.1.1.2.1. แบ่งได้ 3 ชนิด

5.1.1.3. ไฟบริโนเจน(Fibrinogen)

5.1.1.3.1. สำคัญต่อกระบวนการแข็งตัวของเลือด

5.1.2. เซลล์เม็ดเลือดแดง

5.1.2.1. เม็ดเลือดแดง(Red Blood cell)

5.1.2.1.1. รูปร่างผิดปกติ ทำให้เซลล์แตกหักง่าย

5.1.2.1.2. ขนส่งก๊าซโดยสารฮีโมโกลบิน

5.1.2.1.3. เป็นบัฟเฟอร์กรด-ด่างของเลือด

5.1.2.2. เม็ดเลือดขาว(White blood cell)

5.1.2.2.1. คุณสมบัติ

5.1.2.2.2. ชนิด

5.1.2.3. เกล็ดเลือด

5.1.2.3.1. แตกตัวมาจากเซลล์ชนิดเมกะคาริโอไซต์

5.1.2.3.2. มีบทบาทสำคัญในกระบวนการห้ามเลือด(Hemostasis)

5.1.2.3.3. ช่วยกั้นการไหลของหลอดเลือดจากหลอดเลือด

5.2. กระบวนการห้ามเลือด(Hemostasis)

5.2.1. การหดรัดตัวของเลือด(Vasoconstriction)

5.2.1.1. เกิดทันทีเมื่อบาดแผลได้รับบาดเจ็บ

5.2.2. กลไกการทำงานของเกล็ดเลือด(Platelet aggregation)

5.2.2.1. เกิดฮีโมสเตติค ปลั๊ก(Hemostatic plug)

5.2.3. กลไกการแข็งตัวของเลือด(Blood Coagulation)

5.2.3.1. ผลลัพธ์สุดท้าย เส้นใยไฟบริน(Fibrin)

5.3. กระบวนการสลายลิ่มเลือด(Anticoagulation)

5.3.1. เฮพารินรวมตัวกับสารแอนตีทรอมบิน เข้าจับกับทรอมบิน

5.3.2. พลาสมาไม่มีทรอมบินสำหรับการแข็งตัวของเลือด

5.4. หมู่เลือด

5.4.1. หมู่เลือด ABO

5.4.2. หมู่เลือด Rh