บทที่9ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่9ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ by Mind Map: บทที่9ระบบสารสนเทศในระบบสุขภาพ

1. ระบบสารสนเทศทางการพยาบาล (Nursing information system) คือ การทำงานนพยาบาลทั้งด้านบริการ ด้านบริหาร ด้านการศึกษา ด้านงานวิจัย อย่างเป็นระบบระเบียบโดยอาศัยสารสนเทศทางการพยาบาลที่ดีในทุกด้าน

1.1. ระบบสารสนเทศในงานปฎิบัติการพยาบาล ระบบสารสนเทศในคลินิกเป็นระบบเพื่อประโยชน์ในการรักษา นำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการรวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูล ประมวลข้อมูล เรียกดูข้อมูล

1.2. ระบบสารสนเทศในงานบริหารทางการพยาบาล การบริหารคือ การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดให้บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย

1.3. ระบบสารสนเทศในการศึกษาพยาบาล

1.3.1. กิจกรรมในงานการศึกษา ประกอบด้วย งานบริหารการศึกษากับงานการเรียนการสอน -ภารกิจการเรียนการสอน เช่นการใช้โปรแกรมword processor ในการพิมพ์เอกสารการสอน

1.4. ระบบสารสนเทศในงานวิจัยทางการพยาบาล ประกอบด้วย

1.4.1. -การบริหารโครงงานวิจัย -การปฏิบัติวิจัย

1.5. การศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทำวิจัย -ค้นคว้าหาความรู้จากCD-ROM .,internet,library inforation systemเป็นต้น การค้นหาใช้key word ที่เป็นสากลทำให้ได้ข้อมูลมาในเวลารวดเร็วทันสมัยที่สุด

1.6. การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล

1.6.1. สามารถใช้โปรแกรมจัดระบเบียบจัดเก็บข้อมูลของตัวแปรในการวิจัย แล้วนำไปวิเคาะรห์ข้อมูลได้เลย มำให้ทำงานได้รวดเร็ดขึ้น

1.7. การนำเสนอโครงการ การอภิปรายผล สรุป

1.7.1. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมืออันสำคัญช่วยให้การทำงานวิจัยสะดวกรวดเร็วผลงานทำวิจัยย่อมนำมาพัฒนาความรู้และพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลให้เจริญก้าวหน้า นำไปสู้การพัฒนาวิชาชีพและการบริการพยาบาล เป็นการใช้ประโยชน์ของเทคโลยีสารสนเทศในยุคข้อมูลข่าวสารอย่างแท้จริง

2. ระบบงานสารสนเทศโรงพยาบาล

2.1. หมายถึงการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการโรงพยาบาล ทั้งในส่วนที่เป็นบริการผู้ป่วย บริหาร และงานสนับสนุนวิชาการ

2.2. กลุ่มงานบริการด้านการรักษาพยาบาล 1.ระบบเวชระเบียนและสถิติ 2.ระบบงานผู้ป่วยนอก 3.ระบบงานผู้ป่วยใน 4.ระบบงานเภสัชกรรม 5.ระบบงานพยาธิวิทยา/ชันสูตร 6.ระบบงานรังสีวิทยา 7.ระบบห้องผ่าตัด 8.รบบงานวิสัญณี 9.ระบบงานห้องคลอด 10.ระบบงานทัตกรรม 11.ระบบงานจิตวิทยา 12.ระบบงานสังคมศาสตร์ 13.ระบบเวชกรรมสังคม 14.ระบบงานเวชกรรมฟื้นฟู 15.ระบบงานโภชนาการ 16.ระบบงานหน่วยจ่ายกลาง 17.ระบบงานธนาคารโลหิต 18.ระบบงานการเงินผู้ป่วย 19.ระบบงานส่งเสริมสุขภาพ 20.ระบบงานสุขาภิบาลแลพป้องกันโรค 21ระบบงานอุบัติเหุตและฉุกเฉิน

2.3. กลุ่มงานบริหารและวิชาการ ประกอบด้วย10 ระบบ ดังนี้ 1.ระบบงานธุรการ 2.ระบบงานพัสดุ 3.ระบบงานบัญชีและการเงิน 4.ระบบงานการเจ้าหน้าที่ 5.ระบบงานห้องสมุด 6.ระบบงานประชาสัมพันธ์ 7.ระบบงานพัฒนาคุณภาพบริการ 8.ระบบงานข้อมูลข่าวสารทางการแพทย์ 9.ระบบการศึกษา 10.ระบบสำหรับผู้บริหารโรงพยาบาล

2.4. งานพยาบาลมีหลายภารกิจจำแนกได้4กลุ่มงานคือ -งานบริการผู้ป่วย -งานบริหาร -งานการศึกษา -งานวิจัย

3. 1.พัฒนาการของการจำแนกเทคโนโลยีสารสนเทศระบบสุขภาพ

3.1. สังคมเกษตรกรรม

3.2. สังคมอุสาหกรรม

3.3. สังคมข้อมูลข่าวสาร

3.4. ค.ศ.1960 มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏิบัติงานวิจัยทางBiomedicineความรู้ Computer science นำมาประยุกต์ใช้ทำงานด้านชีวภาพการแพทย์ เรียกว่าMedical computer scienec

4. 2. ระบบเครือข่ายสารสนเทศกระทรวงสาธารณสุข หมายถึงระบบสาระสนเทศที่เน้นจัดเก็บและสื่อสารข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุขระหว่างโรงพยาบาลต่างๆและหน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบหน่วยงานหลักคือกระทรวงสาธารณสุขเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของภารกิจในการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยโดยรวม

4.1. ระบบงานสาธารณสุข ประกอบด้วยภารกิจ7 ประเภทคือ 1.การส่งเสริม 2.การป้องกัน 3.การคุ้มครองกลุ่มเสี่ยง 4.การชันสูตรโรค 5.การรักษาพยาบาล 6.การจำกัดการพิการ 7.การฟื้นฟูสภาพ

4.2. ความเป็นมาของระบบสาระสนเทศสาธารณสุข ได้แก่ข้อมูลประชากร ข้อมูลสุขภาพข้อมูลสถิติชีพ ข้อมูลกิจกรรมสาธารณะสุข ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุขทั้งเครื่องของคุณสถานที่อุปกรณ์เครื่องมือรวมทั้งเรื่องการใช้จ่ายเงินเกี่ยวข้องกับสาธารณสุข

4.3. ภารกิจสำคัญในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาระบบสาระสนเทศสาธารณสุขของกระทรวงสาธารณสุขดังนี้หนึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานต่างๆ

4.3.1. 1.การเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานต่างๆและสาธารณสุขทั่วประเทศ 2.การวิจัยและพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณะสุข 3.การพัฒนาและปรับปรุงระเบียน รายงาน การเก็บข้อมูลต่างๆให้ทันสมัย 4.กำหนดระบบงานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีให้ทันสมัย 5.พัฒนาบุคลากรด้านระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.พัฒนาระบบสารสนเทศ 7.พัฒนาฐานข้อมูล เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข

4.4. จำแนกขอบเขตของการเชื่องโยงได้6ลักษณะ ดังนี้ 1.ระบบ LAN 2.FDDl backbone ระบบเขื่อมระหว่างกรมภายในกระทรวงสาธารณสุข 3.เครือข่าย Telemedicine เป็นเครือข่ายผ่านดาวเทียม 4.เครื่อข่ายเชื่อโยมไปยังส่วนภูมิภาค แบบ Enterprise wide area network มีเพียงบางจังหวัด 6.การใช้งานผ่านโทรศัพท์ในลักษณะ Dial up เป็นบริการแบบ Remote access