การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพในระบบEENT (1)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพในระบบEENT (1) by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพในระบบEENT (1)

1. Eye

1.1. Conjunctivitis

1.1.1. คือ

1.1.1.1. เยื่อบุตาขาวอักเสบ หรือ ตาแดง

1.1.2. มีสารคัดหลั่งออกจากตาหรือขี้ตา

1.2. Bacterial conjunctivitis

1.2.1. คือ

1.2.1.1. เยื่อบุตาขาวอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย

1.2.2. สาเหตุ

1.2.2.1. มาจากเชื้อ S.aureus

1.2.3. อาการ

1.2.3.1. ตาแดง หนังตาบวม มีขี้ตามากเป็นสีเหลืองหรือเขียว

1.2.4. การรักษา

1.2.4.1. ใช้ยาป้ายตาหรือยาปฏิชีวนะ

1.3. Virus conjunctivitis

1.3.1. คือ

1.3.1.1. เยื่อบุตาขาวอักเสบจากเชื้อไวรัส

1.3.2. สาเหตุ

1.3.2.1. ติดเชื้อไวรัส เช่น ADENOVIRUS

1.3.3. อาการ

1.3.3.1. ตาแดง เคืองตา หนังตาบวมเล็กน้อย มีขี้ตา

1.3.4. การรักษา

1.3.4.1. ใช้ยาป้ายตา หรือยาหยอดตาปฏิชีวนะ

1.4. Allergic conjunctivitis

1.4.1. คือ

1.4.1.1. เยื่อบุตาขาวอักเสบจากการแพ้

1.4.2. สาเหตุ

1.4.2.1. เกิดจากการแพ้เมื่อดวงตาสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ เช่น ฝุ่น ควัน เกสรดอกไม้

1.4.3. อาการ

1.4.3.1. คันตา ตาบวม น้ำตาไหล ไม่มีขี้ตา ตาแดงเล็กน้อย

1.4.4. การรักษา

1.4.4.1. ใช้ แอนตี้ฮิสตามีน

1.4.4.2. หลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดการแพ้ ถ้าคันมากให้ประคบด้วยน้ำแข็ง

1.5. Trachoma

1.5.1. คือ

1.5.1.1. ริดสีดวงตา

1.5.1.2. การอักเสบและเป็นแผลที่เยื่อบุตา ทำให้เกิดหนังตาม้วนเข้า

1.5.2. สาเหตุ

1.5.2.1. การติดเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “CHAMYDIA TRACHOMATIS”

1.5.2.2. เกิดจากการสัมผัสเช่นสัมผัสขี้ตาหรือสารคัดหลั่งต่างๆรวมถึงการโดนแมลงหวี่ตอมตา

1.5.3. อาการ

1.5.3.1. ระยะเริ่มแรก เคืองตาน้ำตาไหลตาแดงเล็กน้อย

1.5.3.2. ระยะริดสี ดวงแน่นอนมีตุ่มเยื่อบุตาและพบ PUNNUS

1.5.3.3. ระยะเริ่มเป็นแผลเป็น

1.5.3.4. ระยะการหายของแผลและเป็นแผลเป็น ในระยะนี้เชื้อจะหายหมดไปเองแม้ไม่ได้รับการรักษา

1.6. Stye

1.6.1. ชนิด

1.6.1.1. ตากุ้งยิงภายนอก(External hordeolum)

1.6.1.1.1. มีหนองบวมเกิดขึ้นที่ขอบเปลือกตาด้านนอก

1.6.1.1.2. สร้างความเจ็บปวดเมื่อสัมผัสโดน

1.6.1.2. ตากุ้งยิงภายใน(Internal hordeolum)

1.6.1.2.1. มีตุ่มบวมเกิดขึ้นภายในของเปลือกตา

1.6.1.2.2. สร้างความเจ็บปวดน้อยกว่าตากุ้งยิงภายนอก

1.6.2. สาเหตุ

1.6.2.1. การติดเชื้อแบคทีเรียในต่อมไขมันที่อยู่ใต้เปลือกตา

1.6.3. การรักษา

1.6.3.1. ในส่วนของตุ่มนูนที่เกิดขึ้นให้หลับตาแล้วใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นประคบบริเวณรอบดวงตาประมาณ 5-10 นาทีและนวดเบาๆ

1.7. Cataract

1.7.1. คือ

1.7.1.1. เป็นโรคที่เลนส์แก้วตามีความขุ่นมัว

1.7.1.1.1. อาจเกิดได้จากภาวะแทรกซ้อนของภาวะเปลือกตาอักเสบ

1.7.1.2. ต้อกระจก

1.7.2. สาเหตุ

1.7.2.1. ต้อกระจกในวัยสูงอายุ

1.7.2.2. ต้อกระจกตั้งแต่กำเนิด

1.7.2.3. ต้อกระจกทุติยภูมิ

1.7.2.4. ต้อกระจกจากการได้รับบาดเจ็บ

1.7.3. อาการ

1.7.3.1. มองเห็นได้ไม่ชัดเจน ภาพเบลอหรือพร่ามัว

1.7.3.2. ดวงตามองเห็นในที่ที่มีแสงสลัวได้ดีกว่าแสงจ้า

1.7.3.3. มองเห็นเป็นวงแหวนรอบแสงไฟ

1.7.4. ทำได้โดยการผ่าตัดนำเลนส์แก้วตาที่ขุ่นออกแล้วใส่เลนส์แก้วตาเทียมเข้าไปแทนที่

1.7.4.1. การสลายต้อกระจกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง(phacoemulsification)

1.7.4.2. การผ่าตัดต้อกระจกและสั่งเลนส์เทียมโดยใช้เลเซอร์(femtosecond laser)

1.7.5. การรักษา

1.8. Glaucoma

1.8.1. คือ

1.8.1.1. ต้อหิน

1.8.1.2. เป็นความผิดปกติของลูกตาทำให้เกิดความดันภายในลูกตาสูง , ขั้วประสาทตาถูกกดบุ๋ม และลานสายตาแคบกว่าปกติ

1.8.2. ชนิด

1.8.2.1. ต้อหินชนิดปฐมภูมิ

1.8.2.1.1. ชนิดมุมเปิด POAG

1.8.2.1.2. ชนิดมุมปิดPACG

1.8.2.2. ต้อหินชนิดทุติยภูมิ

1.8.2.2.1. เกิดภายหลังจากเกิดโรคตาบางโลก

1.8.2.3. ต้อหินโดยกำเนิด

1.8.3. การรักษา

1.8.3.1. การรักษาด้วยยา

1.8.3.1.1. ยาหดรูม่านตา (miotic)

1.8.3.1.2. ยากลุ่ม Beta-adrenergic Blockers

1.8.3.2. การผ่าตัด

1.8.3.2.1. Trabeculectomy

1.8.3.2.2. Peripheral iridectomy (PI)

1.9. Retinal detachment

1.9.1. คือ

1.9.1.1. จอประสาทตาลอก

1.9.1.1.1. ชนิด

1.9.1.2. หรือภาวะตามัวที่เกิดจากการหลุดลอกระหว่างชั้นเส้นใยประสาทกับชั้นเม็ดสี

1.9.2. สาเหตุ

1.9.2.1. การเสื่อมของจอประสาทตาหรือวุ้นตา

1.9.2.2. หลังผ่าตัดต้อกระจก

1.9.2.3. โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

1.9.3. การรักษา

1.9.3.1. การผ่าตัดเพื่อให้จอประสาทตาเข้าที่เกิดการยึดติดกับชั้นคอลลอยด์และปิดรูที่ฉีกขาด

2. Ear

2.1. Hearing loss

2.1.1. Conductive hearing loss

2.1.1.1. คือ

2.1.1.1.1. การสูญเสียการได้ยินชนิดการนำเสียงบกพร่อง

2.1.1.2. สาเหตุ

2.1.1.2.1. การอุดตันของรูหูอื้อจากขี้หู หรือสิ่งแปลกปลอมต่างๆ

2.1.2. Sensorineural hearing loss

2.1.2.1. คือ

2.1.2.1.1. การสูญเสียการได้ยินชนิดรับฟังเสียงบกพร่อง

2.1.2.2. สาเหตุ

2.1.2.2.1. เป็นมาตั้งแต่กำเนิด

2.1.2.2.2. มีการติดเชื้อ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย ซิฟิลิส

2.1.2.2.3. ได้ยินเสียงที่ดังเฉียบพลัน

2.2. Otosclerosis

2.2.1. คือ

2.2.1.1. โรคหินปูนเกาะกระดูกหู

2.2.2. สาเหตุ

2.2.2.1. ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้

2.2.3. อาการ

2.2.3.1. หูอื้อ การได้ยินลดลง ไม่สามารถได้ยินเสียงกระซิบ

2.2.4. การรักษา

2.2.4.1. แนะนำให้มีเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้ที่มีอาการไม่รุนแรง

2.2.4.2. ผ่าตัดเปลี่ยนกระดูกโกลน

2.3. Meniere' disease

2.3.1. คือ

2.3.1.1. โรคน้ำในหูชั้นใดผิดปกติ(ไม่เท่ากัน)

2.3.2. สาเหตุ

2.3.2.1. ความผิดปกติของหูชั้นใน

2.3.3. อาการ

2.3.3.1. มีอาการเวียนศีรษะรุนแรง สูญเสียสมดุลของร่างกาย

2.3.3.2. การได้ยินลดลง อาการเสียงรบกวนในหู และหูอื้อ

2.3.4. การรักษา

2.3.4.1. ให้ยาขับปัสสาวะช่วยลดอาการให้น้อยลงได้

2.3.4.2. การผ่าตัดสำหรับในรายที่มีอาการรุนแรงและไม่สามารถควบคุมได้

2.4. Otitis externa

2.4.1. คือ

2.4.1.1. หูชั้นนอกอักเสบ หรือ swimmer's ear

2.4.2. สาเหตุ

2.4.2.1. การติดเชื้อแบคทีเรีย เช่น staphylococcus aureus

2.4.2.2. การแคะขี้หูออกมา

2.4.2.3. การเล่นน้ำ ว่ายน้ำ ดำน้ำ หรือล้างหูด้วยสบู่

2.4.3. อาการ

2.4.3.1. ปวดหู คันหู ระคายเคืองในรูหูส่วนนอก

2.4.3.2. อาจมีน้ำเหลืองเยิ้มคล้ายหูแฉะ หรือหนองไหล

2.4.3.3. กดเจ็บบริเวณหน้าใบหู มีอาการบวมแดงของรูหูและใบหู มีหูอื้อและไข้ร่วมด้วย

2.4.4. การรักษา

2.4.4.1. ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น dicloxacillin

2.4.4.2. หากรูหูบวมมากอาจใช้ผ้าก๊อตชุบยาสเตียรอยด์ใส่ไว้ในรูหู

2.5. Otitis media

2.5.1. acute otitis media

2.5.1.1. คือ

2.5.1.1.1. หูชั้นกลางอักเสบชนิดเฉียบพลัน

2.5.1.2. สาเหตุ

2.5.1.2.1. การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบนนำมาก่อน

2.5.1.3. อาการ

2.5.1.3.1. เยื่อแก้วหูแดง และบวมมักจะปลูกออกมา

2.5.1.3.2. มีอาการปวดและกดเจ็บบริเวณกระดูกมาสตอยด์หลังหู

2.5.1.3.3. อาจมีเยื่อแก้วหูทะลุ และมีหนอง

2.5.1.4. การรักษา

2.5.1.4.1. รับประทานยา antibiotic

2.5.1.4.2. ทำการผ่าตัดโพรงกระดูกมาสตอยด์ หรือทำการเจาะเลือดแก้วหู

2.5.2. chronic otitis media

2.5.2.1. หูชั้นกลางอักเสบชนิดเรื้อรังไม่อันตราย

2.5.2.1.1. อาการ

2.5.2.1.2. การรักษา

2.5.2.2. หูชั้นกลางอักเสบชนิดเรื้อรังไม่ปลอดภัย

2.5.2.2.1. อาการ

2.5.2.2.2. การรักษา

2.6. Labyrinthitis

2.6.1. คือ

2.6.1.1. โรคหูชั้นในอักเสบ

2.6.2. สาเหตุ

2.6.2.1. การอักเสบของหูชั้นกลาง และกระดูกมาสตอยด์

2.6.2.2. การติดเชื้อไวรัส

2.6.3. อาการ

2.6.3.1. วิงเวียนเรื้อรังส่งผลให้คลื่นไส้อาเจียน

2.6.3.2. อาจสูญเสียการได้ยินอย่างถาวร

2.6.4. การรักษา

2.6.4.1. ให้ยาตามแผนการรักษา เช่น ยาแก้แพ้ ยาสเตียรอยด์ ยาต้านไวรัส

2.6.4.2. ให้น้ำเกลือเข้าเส้นเลือดดำหากผู้ป่วยมีอาการขาดน้ำรุนแรง

2.7. Foreign Bodies in Ear Canal

2.7.1. คือ

2.7.1.1. สิ่งแปลกปลอมเข้าหู

2.7.2. สาเหตุ

2.7.2.1. สิ่งแปลกปลอมเข้าไปในหู เช่น เมล็ดผลไม้ ลูกปัด แมลง กระดุม

2.7.3. อาการ

2.7.3.1. เสียงดังในหู หูอื้อจากการได้ยินลดลง

2.7.3.2. ปวดหู มีน้ำหนองไหล

2.7.4. การรักษา

2.7.4.1. ถ้าเป็นแมลงให้หยอดหูด้วยน้ำอุ่น น้ำมะพร้าว หรือน้ำมันมะกอก

2.7.4.2. ถ้าเป็นสิ่งแปลกปลอมอื่นๆที่ไม่มีชีวิตให้เอียงหูข้างนั้นต่ำลงแล้วเคาะที่ศีรษะเบาๆ

2.7.4.3. หากลองปฏิบัติดังกล่าวไม่ได้ผลควรนำส่งโรงพยาบาล

2.8. Traumatic disorder of the article

2.8.1. Hematoma

2.8.1.1. คือ

2.8.1.1.1. การมีเลือดคั่งระหว่างกระดูกอ่อนและผิวหนังของใบหู

2.8.1.2. สาเหตุ

2.8.1.2.1. การบาดเจ็บ เช่น การแคะหู เขี่ยหูเกาะเกาบริเวณหู

2.8.1.2.2. การติดเชื้อของช่องหูชั้นนอก

2.8.1.2.3. ความผิดปกติของเกล็ดเลือด ,โรคไขกระดูกฝ่อ,โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว

2.8.1.3. อาการ

2.8.1.3.1. ใบหูบวม , ของเหลวข้างอยู่ใต้ผิวหนัง

2.8.1.3.2. ผิวหนังแดงหรือคล้ำ ปวดหู

2.8.1.4. การรักษา

2.8.1.4.1. หลีกเลี่ยงการกระทบกระเทือนบริเวณหู

2.8.1.4.2. ใช้ผ้าก๊อตกดบริเวณที่เลือดออกภายนอกหู

2.8.1.4.3. ถ้าเกิดจากเนื้องอก หรือเนื้อเยื่อจากการอักเสบอาจใช้ silver nitrate จี้ให้เลือดหยุด

2.8.2. Laceration

2.8.2.1. คือ

2.8.2.1.1. บาดแผลฉีกขาดของใบหู

2.8.2.2. สาเหตุ

2.8.2.2.1. เกิดจากอุบัติเหตุ การบาดเจ็บจากการเกา หรือถูกข่วน

2.8.2.3. อาการ

2.8.2.3.1. มีบาดแผลถลอก หรือแผลลึกจนมีเลือดออก

2.8.2.4. การรักษา

2.8.2.4.1. ดูแลไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก

2.8.2.4.2. ดูแลให้ได้รับยา antibiotic,analgesic

2.8.3. Perichondritis

2.8.3.1. คือ

2.8.3.1.1. การอักเสบของกระดูกอ่อนใบหู

2.8.3.2. สาเหตุ

2.8.3.2.1. การติดเชื้อแบคทีเรีย pseudomonas aeruginosa

2.8.3.3. การรักษา

2.8.3.3.1. อาการ

2.8.3.3.2. ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Gentamicin

2.8.3.3.3. ผ่าตัด ในกรณีที่มีฝีหนองเกิดขึ้น

2.9. Traumatic tympanic membrane perforation

2.9.1. คือ

2.9.1.1. เยื่อแก้วหูทะลุ

2.9.2. สาเหตุ

2.9.2.1. อุบัติเหตุ

2.9.2.2. การถูกกระแทกที่หูอย่างรุนแรง เช่น โดนตก

2.9.2.3. การใช้สิ่งของแหย่หู เช่น คอตตอนบัด

2.9.3. อาการ

2.9.3.1. ปวดหู หูอื้อ(เกิดขึ้นทันทีเมื่อได้รับบาดเจ็บ)

2.9.3.2. เยื่อแก้วหูฉีกขาด แตกทะลุ

2.9.4. การรักษา

2.9.4.1. ให้ยาปฏิชีวนะหยอดหรือป้ายหู

2.9.4.2. ผ่าตัดปะแก้วหู (Myringoplasty)

3. Nose

3.1. Sinusitis

3.1.1. คือ

3.1.1.1. ไซนัสอักเสบ

3.1.1.1.1. ชนิดเฉียบพลัน(acute bacterial rhinosinusitis)

3.1.1.1.2. ชนิดกึ่งเฉียบพลัน (subacute rhinosinusitis)

3.1.1.1.3. ชนิดเรื้อรัง (chronic rhinosinusitis)

3.1.2. สาเหตุ

3.1.3. อาการ

3.1.3.1. คัดแน่นบริเวณจมูก ปวดหรือแน่นบริเวณใบหน้า

3.1.3.2. มีน้ำมูกสีเหลืองเขียวไหลออกมา

3.1.3.3. การติดเชื้อเข้าไปสู่ไซนัส

3.1.3.4. การได้กลิ่นลดลง หรือสูญเสียไป หายใจมีกลิ่นเหม็น

3.1.3.5. อาจพบริดสีดวงจมูก

3.2. Nasal Polyps

3.2.1. คือ

3.2.1.1. ริดสีดวงจมูก

3.2.1.1.1. มีลักษณะเป็นก้อนสีขาวเทา

3.2.1.1.2. เป็นติ่งเนื้อคล้ายผลองุ่น

3.2.2. สาเหตุ

3.2.2.1. การอักเสบเรื้อรัง และการติดเชื้อ

3.2.2.2. ความผิดปกติของระบบประสาทที่ควบคุมการทำงานของหลอดเลือด

3.2.3. อาการ

3.2.3.1. คัดแน่นจมูก จาม หรือมีน้ำมูก

3.2.3.2. ปวดตื้อบริเวณแก้ม หรือสันจมูก

3.2.3.3. เจ็บคอเรื้อรัง ไอหรือจามบ่อย การได้รับกลิ่นลดลง

3.2.4. การรักษา

3.2.4.1. ให้ยาสเตียรอยด์ชนิดพ่น กิน หรือฉีด

3.2.4.2. ผ่าตัดเอาริดสีดวงจมูกออกแบบธรรมดา simple polypectomy

3.2.4.3. การผ่าตัดโดยการใช้กล้อง (endoscopic sinus surgery)

3.3. Allergic rhinitis

3.3.1. คือ

3.3.1.1. หวัดภูมิแพ้

3.3.2. สาเหตุ

3.3.2.1. กรรมพันธุ์

3.3.2.2. การติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือเชื้อรา

3.3.3. อาการ

3.3.3.1. เป็นหวัด คัดจมูก จามบ่อย มีน้ำมูกใสหรือหนองเหลว

3.3.3.2. มักเป็นช่วงเช้า หรือเจออากาศเย็นๆ อาจมีปวดหัวร่วมด้วย

3.3.4. การรักษา

3.3.4.1. ให้ยาแก้แพ้

3.3.4.2. หลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้

3.3.4.3. หากอาการไม่ดีขึ้นให้รีบนำส่งโรงพยาบาล

3.4. Epistaxis

3.4.1. คือ

3.4.1.1. เลือดกำเดาไหล

3.4.2. สาเหตุ

3.4.2.1. การระคายเคือง และการอักเสบในช่องจมูก

3.4.2.2. การผิดรูปของผนังกั้นจมูก เนื้องอกในโพรงจมูก

3.4.3. อาการ

3.4.3.1. กลุ่มที่มีเลือดออกน้อย และหยุดไหลได้เอง

3.4.3.1.1. มีเลือดออกทางจมูกส่วนหน้า

3.4.3.2. กลุ่มที่มีเลือดออกทางจมูกแค่ครั้งเดียว แต่เลือดออกมาก

3.4.3.2.1. ความดันโลหิตสูง

3.4.3.2.2. มีเลือดออกทางโพรงจมูกส่วนหลัง

3.4.4. การรักษา

3.4.4.1. การบีบ , ให้ยาหมดหลอดเลือดเฉพาะที่

3.4.4.2. การจี้จุดอ่อน

3.4.4.3. ฉีดสารอุดตันหลอดเลือดแดง

3.4.5. ภาวะแทรกซ้อน

3.4.5.1. สำลักเลือดหรืออาเจียน

3.4.5.2. เกิดผังผืดของเนื้อเยื่อบุโพรงมดลูก

3.4.5.3. ภาวะโลหิตจาง

3.4.5.4. เกิดภาวะช็อก

4. Mouth & Throat

4.1. Angioedema

4.1.1. คือ

4.1.1.1. อาการบวมใต้ชั้นผิวหนัง

4.1.1.2. มักเกิดที่ หนังตา ริมฝีปาก

4.1.2. สาเหตุ

4.1.2.1. เกิดตามการเป็นโรคภูมิแพ้

4.1.3. อาการ

4.1.3.1. บวม แดงไม่ชัดเจน

4.1.4. การรักษา

4.1.4.1. ยา Antihistamin, steroid และ doxepin

4.2. Airway obstruction

4.2.1. คือ

4.2.1.1. ภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น

4.2.2. สาเหตุ

4.2.2.1. ร่างกายสร้างเสมหะมาก

4.2.2.2. มีภาวะติดเชื้อหรือขาดน้ำ

4.2.3. อาการ

4.2.3.1. Aphonia อาการเสียงแห้ง , พูดไม่มีเสียงพูดขมุบขมิบ

4.2.3.2. Stridor เป็นเสียงหยาบสั่น

4.2.3.3. Wheezing เป็นเสียงโทนสูงเหมือนกับเสียงวี๊ด

4.2.4. การรักษา

4.2.4.1. จัดท่านอนศีรษะสูง

4.2.4.2. สอนเทคนิคการหายใจที่มีประสิทธิภาพ

4.2.4.3. การให้ออกซิเจนและดูดเสมหะ

4.2.4.4. ให้ละอองไอน้ำและความชื้น

4.3. Bell’s palsy

4.3.1. คือ

4.3.1.1. โรคใบหน้าอัมพาตครึ่งซีก

4.3.1.2. ภาวะที่เส้นประสามสมองคู่ที่7 สูญเสียการทํางาน

4.3.2. สาเหตุ

4.3.2.1. เกิดจากร่างกายที่อ่อนแอ พักผ่อนไม่เพียงพอมีภาวะเครียด

4.3.3. อาการ

4.3.3.1. มีไข้ตํ่าๆ คล้ายเป็นหวัด ปวดบริเวณหลังใบหู

4.3.3.2. ใบหน้าชา กระพริบตาไม่ได้ ปิดตาไม่สนิท ริมฝิปากแข็ง ปากเบี้ยว

4.3.4. การรักษา

4.3.4.1. ให้ยากลุ่มสเตียรอยด์ ,ยากลุ่มต้านไวรัส

4.3.4.2. นํ้าตาเทียม หรือขี้ผึ้งป้าย

4.4. Epidemic parotitis

4.4.1. คือ

4.4.1.1. คางทูม

4.4.2. สาเหตุ

4.4.2.1. เกิดจากการติดเชื้อไวรัสคางทูม (Mumps Virus) ในกลุ่ม Par amyxovirus

4.4.3. อาการ

4.4.3.1. มีไข้ต่ำ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อย ตามตัว เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย

4.4.4. การรักษา

4.4.4.1. ยังไม่มีวิธีรักษาเฉพาะในโรคนี้

4.4.4.2. ถ้ามีอาการปวดหรือมีไข่สูงให้กินยาพาราเซตามอล

4.4.4.3. รับประทานอาหารอ่อน ๆ หรืออาหารที่เคี้ยวได้ง่าย

4.4.4.4. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเปรี้ยว

4.5. Peritonsillar abscess

4.5.1. คือ

4.5.1.1. ต่อมทอนซิลอักเสบเป็นฝี

4.5.2. สาเหตุ

4.5.2.1. จากการติดเชื้อ aerobic or anaerobic bacteria

4.5.3. อาการ

4.5.3.1. ไข้สูง กลืนเจ็บ กลืนน้ําลายไม่ได้ อ้าปากไม่ได้ ปวดหู

4.5.3.2. มี hot potato voice

4.5.3.3. มักบวมบริเวณต่อมทินซิลข้างเดียว

4.5.4. การรักษา

4.5.4.1. ให้ยาชนิดฉีด penicillin หรือ erythromycin,cefoxitin,

4.5.4.2. tonsillectomy กรณีกรีดเอาหนองออก

4.6. Ludwig’s angina

4.6.1. คือ

4.6.1.1. การติดเชื้อในช่องเยื่อหุ้มคอชั้นลึก ด้านล่างของลิ้น

4.6.1.2. มักเกิดหลังเกิดฝีหนองสะสมในฟัน

4.6.2. สาเหตุ

4.6.2.1. การติดเชื้อ Streptococcus และ Staphylococcus

4.6.3. อาการ

4.6.3.1. ลิ้นบวม เจ็บใต้ลิ้น ปวดต้นคอ กลืนลําบาก น้ำลายไหล มีไข้

4.6.3.2. อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนคือ เจ็บหน้าอก

4.6.4. การรักษา

4.6.4.1. การทำให้ทางเดินหายใจโล่ง เช่น การใส่ท่อช่วยหายใจ หรือ tracheostomy

4.6.4.2. การใช้ยาปฏิชีวนะ

4.7. Masticator

4.7.1. คือ

4.7.1.1. การติดเชื้อที่บริเวณส่วนล่างของฟันกรามทะลุเข้าไปถึง masticator space

4.7.2. สาเหตุ

4.7.2.1. การติดเชื้อ

4.7.3. อาการ

4.7.3.1. มีอาการบวม, ขากรรไกรค้าง (lockjaw)

4.7.3.2. มีการเบนของลิ้นไก่ไปข้างที่ไม่ได้รับผลกระทบ

4.7.4. การรักษา

4.7.4.1. ให้ยา PCN หรือ Clindamycin ทางหลอดเลือดดํา

4.7.4.2. ทํา Intraoral หรือ Extraoral

4.8. Acute necrotizing ulcerative gingivitis : ANUG

4.8.1. คือ

4.8.1.1. เหงือกอักเสบแบบเนื้อตายเฉียบพลัน

4.8.1.2. หรือ การติดเชื้อแบบวินเซนต์(Vincent angina)

4.8.2. สาเหตุ

4.8.2.1. การติดเชื้อ fusiform bacilli และ spirochete

4.8.3. อาการ

4.8.3.1. ไข้ อ่อนเพลีย และมีกลิ่นปากเหม็น

4.8.3.2. มีการตายของเหงือก และเลือดออกง่าย

4.8.3.3. มีฝ้าสีเทา

4.8.4. การรักษา

4.8.4.1. ให้ยาลดไข้ หรือ ยา antibiotic

4.8.4.2. บ้วนปากตอนเช้าตื่นนอน และรับประทานอาหารเหลว

4.9. Pharyngitis

4.9.1. คือ

4.9.1.1. คออักเสบ หรือ คอหอยอักเสบ

4.9.1.2. ภาวะการอักเสบของเนื้อเยื่อในลําคอที่อยู่บริเวณหลังช่องปาก

4.9.2. สาเหตุ

4.9.2.1. การติดเชื้อไวรัส หรือเชื้อแบคทีเรียกลุ่ม Group A streptococcus (GAS)

4.9.2.2. สาเหตุอื่นๆ เช่น การสูบบุหรี่,กรดไหลย้อน,สารก่อภูมิแพ้

4.9.3. อาการ

4.9.3.1. อักเสบ บวม แดง

4.9.3.2. มีอาการเจ็บคอเป็นสำคัญ

4.9.4. การรักษา

4.9.4.1. ติดเชื้อไวรัส ให้ดื่มน้ำให้เพียงพอ ประทานอาหารเหลว

4.9.4.2. ติดเชื้อแบคทีเรีย รับประทานยาปฏิชีวนะ เช่น เพนนิซิลินวี

4.10. Laryngitis

4.10.1. คือ

4.10.1.1. โรคกล่องเสียงอักเสบ

4.10.2. สาเหตุ

4.10.2.1. การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส เชื้อรา หรือเชื้อวัณโรค

4.10.2.2. การใช้เสียงผิดวิธี เช่น ชอบตะโกน

4.10.2.3. การระคายเคืองเรื้อรังเช่น ไอเรื้อรัง สูบบุหรี่ ดื่มสุรา

4.10.3. อาการ

4.10.3.1. เสียงแหบ บางรายอาจไม่มีเสียง

4.10.3.2. เจ็บคอ คอแห้ง เหมือนมีอะไรในคอ

4.10.3.3. หายใจลำบาก

4.10.4. การรักษา

4.10.4.1. รักษาตามสาเหตุที่เกิด เช่นจากไวรัสให้ยาบรรเทา

4.10.4.2. ถ้ามีตุ่มที่สายเสียงจะแนะนำให้ผ่าตัดเอาตุ่มออก

4.11. Temporomandibular joint Disorder

4.11.1. คือ

4.11.1.1. ภาวะผิดปกติของข้อต่อขากรรไกร

4.11.2. สาเหตุ

4.11.2.1. ตัวแผ่นหมอนรองกระดูกมีการสึกกร่อน

4.11.2.2. ข้อต่อถูกกระทบกระเทือนจากปัจจัยภายนอก

4.11.2.3. กระดูกอ่อนของข้อต่อถูกทำลายจากภาวะข้อเสื่อม

4.11.3. อาการ

4.11.3.1. เจ็บปวดบริเวณขากรรไกร

4.11.3.2. เจ็บร้าวบริเวณรอบๆหูและใบหน้า

4.11.4. การรักษา

4.11.4.1. ให้ยาแก้ปวดลดการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ เช่น ibuprofen

4.11.4.2. ผ่าตัดข้อต่อขากรรไกรแบบส่องกล้องหรือแบบเปิดข้อต่อขากรรไกร

4.12. Retropharyngeal abscess (RPA)

4.12.1. คือ

4.12.1.1. การติดเชื้อเป็นหนองใน deep tissue ที่บริเวณโพรงหลังคอหอย

4.12.2. สาเหตุ

4.12.2.1. การติดเชื้อ

4.12.3. อาการ

4.12.3.1. ไข้ขึ้นสูง เคลื่อนไหวคอและขากรรไกรได้น้อย

4.12.3.2. ปวดคอเวลาเคลื่อนไหว คอแข็ง คอเอียง

4.12.3.3. กลืนลำบาก เจ็บเวลากลืน

4.12.4. การรักษา

4.12.4.1. ดูแลทางเดินหายใจเปิดให้โล่ง

4.12.4.2. ให้ยาต้านจุลชีพเข้าทางหลอดเลือดดำ

4.12.4.3. การผ่าตัดระบายหนองกรณีที่อาการอุดกั้นทางเดินหายใจไม่ดีขึ้น

4.13. acute epiglottitis

4.13.1. คือ

4.13.1.1. การอักเสบของฝาปิดกล่องเสียงอย่างเฉียบพลัน

4.13.2. สาเหตุ

4.13.2.1. เชื้อแบคทีเรีย Hemophilus influenzae type

4.13.3. อาการ

4.13.3.1. เจ็บคอ กลืนลำบาก น้ำลายไหล

4.13.3.2. ไข้สูง หายใจดัง หายใจลำบาก

4.13.4. การรักษา

4.13.4.1. ควรพิจารณาใส่ท่อหลอดลมคอ

4.13.4.2. ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น ampicillin , amoxycillin

4.14. Ca larynx

4.14.1. คือ

4.14.1.1. มะเร็งกล่องเสียง

4.14.2. สาเหตุ

4.14.2.1. การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา มลพิษทางอากาศ

4.14.2.2. การอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุกล่องเสียง

4.14.2.3. การฉายรังสี

4.14.3. อาการ

4.14.3.1. เสียงแหบเรื้อรัง กลืนอาหารลำบาก มีเสมหะปนเลือด

4.14.3.2. เจ็บคอเรื้อรัง มีก้อนโตที่คอ

4.14.4. การรักษา

4.14.4.1. ฉายรังสี หรือผ่าตัดออก