การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม by Mind Map: การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

1. บทที่3 การเตรียมตัวสำหรับการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

1.1. การเตรียมนักเรียนสำหรับการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

1.1.1. 1.การเตรียมความพร้อมนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษในการเข้าชั้นเรียน

1.1.1.1. 1.1)เรียนร่วมในชั้นปกติ

1.1.1.2. 1.2)เรียนร่วมในชั้นปกติและรับบริการพิเศษจากครูเดินสอน/ครูที่ปรึกษา และ/หรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ

1.1.1.3. 1.3)เรียนร่วมในชั้นปกติและรับบริการพิเศษจากห้องเสริมวิชาการ

1.1.1.4. 1.4)ชั้นพิเศษโดยส่งไปเรียร่วมในชั้นปกติบางวิชา

1.1.1.5. 1.5)ชั้นพิเศษสำหรับนักเรัยนที่มีความต้องการพิเศษแต่ละประเภทในโรงเรียนปกติ

1.1.2. 2.วิธีการจัดนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษเข้าเรียนร่วมในโรงเรียน

1.2. การเตรียมโรงเรียนสำหรับการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

1.2.1. 1.การเตรียมความพร้อมโรงเรียนในด้านงบประมาณ และทรัพยากร

1.2.2. 2.การเตรียมความพร้อมโรงเรียนในด้านสิ่งแวดล้อม-เครื่องมือ

1.2.2.1. 2.1)อาคารสถานที่

1.2.2.2. 2.2)สถานที่ตั้งโรงเรียน

1.2.2.3. 2.3)อุปกรณ์ที่ควรจัดหาเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน

1.2.2.4. 2.4)อุปกรณ์ที่ควรจัดหาเพื่อให้ประกอบการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น

1.2.2.5. 2.5)นักเรียนที่พิการทางร่างกายและที่มีความบกพร่องทางสุขภาพควรมีอุปกรณ์พิเศษ

1.2.3. 3.การเตรียมความพร้อมโรงเรียนในด้านสร้างองค์กร

1.2.4. 4.การเตรียมความพร้อมโรงเรียนในด้านบุคลากร

1.2.5. 5.การเตรียมความพร้อมโรงเรียนในขั้นตอนการคัดเลือกนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษเข้าเรียนโรงเรียน

1.3. การเตรียมครูสำหรับการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

1.3.1. 1.การเตรียมความพร้อมครูในด้านทัศนคติ

1.3.2. 2.การเตรียมความพร้อมในการสร้างทัศนคติต่อการจัดการศักษาแบบเรียนร่วม

1.3.3. 3.การเตรียมความพร้อมครูให้เข้าใจภาวะปกติของนักเรียนในการจัดการศีกษาแบบเรียนร่วม

1.3.4. 4.การเตรียมความพร้อมครูในการใช้หลักสูตรสำหรับการจัดการศีกษาแบบเรียนร่วม

1.3.5. 5.การเตรียมความพร้อมด้านปัจจัยสำคัญในการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

1.3.6. 6.การเตรียมความพร้อมครูด้านการคัดแยกและส่งต่อนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

1.3.7. 7.การเตรียมความพร้อมครูในการสอนแบบเรียนร่วม

1.3.8. 8.การเตรียมความพร้อมครูในการสอนโดยการใช้สหวิทยาการ

1.3.9. 9.การเตรียมความพร้อมครูในการประเมินผลการเรียน

1.3.10. 10.การเตรียมความพร้อมครูในการใช้สื่อการเรียนในการสอนแบบเรียนร่วม

1.3.11. 11.การเตรียมความพร้อมครูในการสอนนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

1.4. การเตรียมผู้ปกครองสำหรับการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

1.4.1. 1.การเตรียมความพร้อมผุ้ปกครองในการได้รับคำปรึกษาแบบรายบุคคล

1.4.2. 2.การเตรียมความพร้อมในการประชุมกลุ่มครู-ผู้ปกครอง

1.4.3. 3.การเตรียมความพร้อมผู้ปกครองในการพบปะกลุ่มเล็ก

1.4.4. 4.การเตรียมความพร้อมผู้ปกครองให้รู้จักการสาธิตการสอน

1.4.5. 5.การเตรียมความพร้อมผู้ปกครองกับการเยี่ยมบ้าน

1.4.6. 6.การเตรียมความพร้ออมให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมโดยวิธีอื่นๆ

2. บทที่4 โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล

2.1. รายละเอียดของโปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล

2.1.1. 1.ข้อมูลเกี่ยวกับนักเรียน

2.1.2. 2.ประเภทของโรงเรียน

2.1.3. 3.ระดับความสามารถของนักเรียน

2.1.4. 4.จุดมุ่งหมายระยะสั้น

2.1.5. 5.จุดมุ่งหมายระยะยาว

2.1.6. 6.บริการที่เกี่ยวข้อง

2.1.7. 7.ระยะเวลา

2.1.8. 8.การเรียนร่วมกับนักเรียนปกติ

2.1.9. 9.การประเมินผล

2.1.10. 10.การรับรองโปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล

2.2. ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล

2.2.1. 1.การรวบรวมข้อมูล

2.2.2. 2.การจัดทำโปรแกรมการศีกษาเฉพาะบุคคลสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

2.2.3. 3.การใช้โปรแกรมการศึกษาเมื่อเสร็จสมบรูณ์แล้ว

2.3. ปัจจัยและตัวบ่งชี้ความสำเร็จในการใช้โปรแกรม

2.3.1. 1.หลักสูตร

2.3.2. 2.จุดประสงค์ทั่วไป

2.3.3. 3.ตัวอย่างการสอนย่อย

2.3.4. 4.ตัวบ่งชี้คาวมสำเร็จในการใช้โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล

2.3.5. 5.งบประมาณ

2.3.6. 6.นักเรียนปกติที่เรียนร่วม

2.3.7. 7.ผู้ปกครอง

2.3.8. 8.นีกเรียน

2.3.9. 9.ครูผู้สอน

2.3.10. 10.ผู้บริหารโรงเรียน

2.3.11. 11.ผู้ปกครองนักเรียน

2.3.12. 12.ศึกษานิเทศก์

2.3.13. 12.ศึกษานิเทศก์

3. บทที่1 การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

3.1. การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

3.1.1. การให้การศึกษากับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษในลักษณะบางเวลา

3.1.2. การให้การศึกษากับนักเรียนที่มีควมาต้องการพิเศษในสถาพแวดล้อมที่พิเศษในโรงเรียนปกติ

3.1.3. การให้การศึกษากับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษในชั้นเรียนปกติ

3.2. ความหมายของการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

3.2.1. การให้บริการทางการศึกษากับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษประเภทต่างๆ การสง่เสริมการเรียนรู้จะคำนึงถึงความสามารถพื้นฐานของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษแต่ละบุคคล

3.3. ลักษณะของการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

3.3.1. การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมจะเป็นการจัดการเรียนการสอนโดยจะคำนึงถึงความสามารถของแต่ละบุคคล ซึ่งมีการทำโปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล

4. บทที่2 หลักการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

4.1. หลักการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

4.1.1. นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษจะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่จะต้องสอดคล้องกับหลักการ เป้าหมาย และจุดประสงค์ของหลักสูตร เช่นเดียวกับนักเรัยนปกติแต่จะมีวิธีการวัดที่แตกต่างกัน

4.1.2. วิธีการสอนจะต้องให้สอดคล้องกับความต้องการพิเศษ

4.1.3. สื่อการสแนจะต้องมีคาวมสะดวกรวดเร็ว และเพียงพอที่จะให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ

4.2. รูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

4.2.1. 1.การจัดเรียนร่วมในชั้นเรียนปกติเต็มเวลาการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วม

4.2.2. 2.การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมในชั้นปกติ

4.2.3. 3.การจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมในขั้นพิเศษในโรงเรียนปกติ

4.2.4. 4.การจัดโรงเรียนพิเศษ

4.2.5. 5.การจัดการศึกษาพิเศษนอกโรงเรียน

4.2.6. 6.ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการครูเดินสอน

4.2.7. 7.ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการสอนเสริมนักเรียนในชั้นเรียนปกติเต็มเวลา

4.2.8. 8.ชั้นเรียนพิเศษและชั้นเรียนปกติ

4.2.9. 9.การจัดการศึกษาโดยครอบครัว

4.2.10. 10.การจัดการศึกษาโดยชุมชน

4.2.11. 11.การศึกษาในสถานพยาบาล

4.2.12. 12.การจัดการศึกษาโดยศูนย์การศึกษาพิเศษ

4.2.13. 13.การจัดการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย

4.3. วิธีการจัดขั้นเรียนสำหรับการศึกษาแบบเรียนร่วม

4.3.1. 1.จัดนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษเข้าสู่นักเรียนในชั้นเรียนปกติ

4.3.2. 2.จัดเป็นชันเรียนพิเศษเฉพาะและเข้ารับการเรียนร่วมกับนักเรียนปกติบางวิชา

4.3.3. 3.จัดเป็นขั้นเรียนพิเศษเฉพาะ แต่ให้นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษได้มีกิจกรรมสังคมร่วมกับนักเรียนปกติในโรงเรียน

4.4. หลักเกณฑ์ในการจัดรูปแบบการเรียนการสอน

4.4.1. จำนวนนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ

4.4.2. ระดับความพิการและความสามารถของตัวนักเรียน

4.4.3. ประเภทของความพิการ

4.4.4. วุฒิภาวะทางอารมณ์และสังคม