จิตวิทยาทางการเมือง

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
จิตวิทยาทางการเมือง by Mind Map: จิตวิทยาทางการเมือง

1. การวิเคราะห์ทางการเมือง

1.1. วัฒนธรรมทางสังคม(Social Culture)

1.1.1. คุณสมบัติ

1.1.1.1. 1.เรียนรู้ได้

1.1.1.2. 2. เกิดจากเรียนรู้ทางสังคมมากกว่าถ่ายทอดทางสายโลหิต

1.1.1.3. 3.มีการเปลี่ยนเเปลงได้

1.1.2. แบบแผนพฤติกรรม

1.1.2.1. 1.ระบบความเชื่อ (Belief)

1.1.2.2. 2 ค่านิยม (Value).

1.1.2.3. 3. ทัศนคติ (Attitude)

1.2. วัฒนธรรมการเมือง (Political Culture)

1.2.1. Gabriel Almond

1.2.1.1. 1.ความรับรู้ (Cognitive orientation)

1.2.1.2. 2.ความรู้สึก (Affective orientation)

1.2.1.3. 3.การประเมินค่า (Evaluative orientation)

1.2.2. งานวิจัย Almond & Verba

1.2.2.1. 1.เเบบคับเเคบ

1.2.2.1.1. บุคคลไม่มีความรู้ทางการเมืองทั้งสิ้น

1.2.2.2. 2.แบบไพร่ฟ้า

1.2.2.2.1. บุคคลมีความเข้าใจในการเมืองเเต่ไม่สนใจเข้าไปมีส่วนร่วม

1.2.2.3. 3. แบบมีส่วนร่วม

1.2.2.3.1. บุคคลมีความเข้าใจเป็นอย่างดีเเละเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง

1.2.3. รูปแบบ

1.2.3.1. 1.แบบอำนาจนิยม (Authoritative Political Culture) เกิดขึ้นภายใต้สังคมที่มีการปกครองแบบเผด็จการ

1.2.3.1.1. สังคมคอมมิวนิสต์ , รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และรัฐเผด็จการทั้งทหารเเละพลเรือน

1.2.3.2. 2.แบบประชาธิปไตย (Democratic Political Culture) บุคคลเชื่อมั่นในประชาธิปไตย ไว้วางใจเเละยอมรับความสามารถของผู้อื่น

1.2.4. สังคมไทย

1.2.4.1. หลังจากมีการเปลี่ยนเเปลงการปกครองในพ.ศ. 2475 ไทยได้เริ่มโครงสร้างการเมืองตะวันตกมาใช้ โดยมีการแบ่งอำนาจเป็น 3 ฝ่าย คือ นิติบัญญัติ บริหาร เเละ ตุลาการ ตามหลักประชาธิปไตย

2. การวิเคราะห์การมีส่วนร่วมทางการเมือง

2.1. ลักษณะ

2.1.1. 1.ระบอบอำนาจนิยมหรือเผด็จการ

2.1.1.1. ลักษณะของการระดมการมีส่วนร่วม(Mobilized Participation) ประชาชนสนับสนุนผู้เผด็จการเท่านั้น ไม่สามารถคัดค้านหรือต่อต้านผู้นำ

2.1.2. 2. ระบอบประชาธิปไตย

2.1.2.1. วัตถุประสงค์

2.1.2.1.1. 1.การกำหนดตัวผู้ปกครอง

2.1.2.1.2. 2.การผลักดันการตัดสินใจของรัฐบาล

2.1.2.1.3. 3.การวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล

2.1.2.1.4. 4.การชุมนุมเคลื่อนไหวทางการเมือง

2.2. ลำดับขั้นตอน

2.2.1. เลสเตอร์ มิลเบรธ(Lester Milbrath )

2.2.1.1. กลุ่มสนใจการเมือง

2.2.1.2. กลุ่มไม่สนใจการเมือง

2.2.1.2.1. 1.ติดตามทางการเมือง (Spectators)

2.2.1.2.2. 2.กึ่งกลางระหว่างผู้สนใจเเละผู้ที่ต้องการเข้าไปมีส่วนร่วม (Transitional activists)

2.2.1.2.3. 3.ต้องการเข้าไปต่อสู้ทางการเมืองโดยตรง (Gladiators)

2.3. บทบาทของปัจจัยกระตุ้นการมีส่วนร่วม

2.3.1. กระตุ้นจากสิ่งเเวดล้อม

2.3.2. กระตุ้นของบุคคล

2.4. บทบาทของปัจเจกบุคคลต่อการมีส่วนร่วม

2.4.1. เป็นพื้นฐานที่สำคัญสำหรับการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับองค์กร

2.5. ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนากับการมีส่วนร่วม

2.5.1. 1.การพัฒนาเศรษฐกิจ (Economic Devrlopment)

2.5.2. 2.ความคับข้องใจทาสังคม (Social Frustration)

2.5.3. 3.การมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political Participation)

2.6. การมีส่วนร่วมการเมืองในไทย

2.6.1. การใช้สิทธิเลือกตั้งผู้ปกครอง

2.6.2. การมีส่วนร่วมของนิสิตนักศึกษา

2.6.3. กรมีส่วนร่วมของกรรมกร

2.7. ปัญหาของการมีส่วนร่วมในไทย

2.7.1. ไม่มีกระบวนการให้ความรู้ทางการเมืองเเก่ประชาชนที่มีประสิทธิภาพอย่างเพียงพอ

2.7.2. ระบบการศึกษาไทยยังคงปลูกฝังค่านิยมเก่าๆ

2.7.3. ประชาชนขาดการตื่นตัวทางการเมือง

2.7.4. ขาดความสำนึกในความสามารถทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของประชาชน