1. การพินิจคุณค่าวรรณคดี
1.1. คุณค่าด้านเนื้อหา
1.1.1. จุดมุ่งหมายในการแต่ง
1.1.2. คำสอน คติ ข้อเตือนใจ แนวทางในการดำเนินชีวิต
1.1.3. สะท้อนถิวีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม
1.2. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
1.2.1. รสวรรณคดี
1.2.1.1. เสาวรสจนีย์
1.2.1.1.1. คือ บทชมความงาม
1.2.1.2. นารีปราโมทย์
1.2.1.2.1. คือ บทเกี้ยวพาราสี
1.2.1.3. พิโรธวาทัง
1.2.1.3.1. คือ บทโกรธ
1.2.1.4. สัลลาปังคพิสัย
1.2.1.4.1. คือ บทโศกเศร้า
1.2.2. โวหารภาพพจน์
1.2.2.1. อุปมา
1.2.2.1.1. คือ การเปรียบเหมือน
1.2.2.2. อุปลักษณ์
1.2.2.2.1. คือ การเปรียบเป็น
1.2.2.3. บุคคลวัต
1.2.2.3.1. คือ สมมติให้สิ่งของมีชีวิต หรือมีความรู้สึกเหมือนมนุษย์
1.2.2.4. สัทพจน์
1.2.2.4.1. คือ การเลียนเสียงธรรมชาติ
1.2.3. การสรรคำ
1.2.3.1. การเล่นเสียง
1.2.3.1.1. เล่นเสียงสระ
1.2.3.1.2. เล่นเสียงพยัญชนะ
1.2.3.1.3. เล่นเสียงวรรณยุกต์
1.2.3.2. การเล่นคำ (เขียนเหมือนกัน ความหมายต่างกัน)
1.2.3.2.1. ถึงบางพลัดยิ่งอนัตอนาถจิต นิ่งพินิจนึกน่าน้ำตาไหล ที่พลัดนางร้างรักมาแรมไกล ประเดี๋ยวใจพบนางริมทางจร
1.2.3.3. การซ้ำคำ (ความหมายเดียวกัน)
1.2.3.3.1. งามโอษงามแก้มงามจุไร งามนัยต์งามเนตรงามกร
1.2.3.4. การหลากคำ
1.2.3.4.1. คำไวพจน์
2. วิชาภาษาไทยพื้นฐาน (ท๒๑๑๐๑) ชั้นมัธยมศึกษษปีที่ ๑ ครูจิณห์วรา จันนาหว้า โรงเรียนนาจานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น
3. วรรณคดีคืออะไร
3.1. รากศัพท์
3.1.1. วรรณ (หนังสือ) + คดี (แบบอย่าง,แนวทาง) = วรรณคดี (แบบอย่างหรือแนวทางแห่งหนึ่งสือ)
3.2. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
3.2.1. "หนังสือที่ได้รับการยกย่องว่าแต่งดี"