Curriculum Development

พัฒนาหลักสูตร

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Curriculum Development by Mind Map: Curriculum Development

1. หน่วยที่ 4 กระบวนการพัฒนาหลักสูตร

1.1. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของไทเลอร์

1.2. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของเซเลอร์ อเล็กซานเดอร์ และเลวิส

1.3. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของโอลิวา

1.4. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของโบแชมป์

1.5. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของฮิลดา ทาบา

1.6. การพัฒนาหลักสูตรในแต่ละระดับการศึกษาและสาขาวิชาเอก

1.7. การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

1.8. บทบาทชุมชนกับการพัฒนาหลักสูตร

1.9. หลักสูตรมาตรฐานสากล

2. หน่วยที่ 5 การนำหลักสูตรไปใช้

2.1. หลักการที่สำคัญในการนำหลักสูตรไปใช้

2.1.1. การนำหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาหลักสูตร เพราะเป็นการนำอุดมการณ์ จุดหมายของหลักสูตร เนื้อหาวิชาและประสบการณ์การเรียนรู้ที่คัดสรรอย่างดีแล้วไปสู่ผู้เรียน

2.2. บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร

2.2.1. บทบาทของหน่วยงานส่วนกลางและส่วนท้องถิ่นในการนำหลักสูตรไปใช้

2.2.1.1. 1. การใช้หลักสูตรโดยหน่วยงานส่วนกลางที่มีบทบาทเต็มที่

2.2.1.2. 2. การใช้หลักสูตรโดยให้โรงเรียนมีบทบาทเต็มที่

2.2.1.3. 3. การใช้หลักสูตรโดยให้หน่วยงานส่วนกลางมีบทบาทเป็นส่วนใหญ่ และมีหน่วยงานท้องถิ่นเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ

2.2.1.4. 4. ใช้หลักสูตรโดยให้หน่วยงานส่วนท้องถิ่นมีบทบาทสำคัญ และหน่วยงานส่วนกลางเป็นผู้ให้การสนับสนุน

2.2.2. บทบาทของบุคลากรในการนำหลักสูตรไปใช้

2.2.2.1. 1. ผู้บริหารโรงเรียน

2.2.2.2. 2. หัวหน้าหมวดวิชาหรือสาขาวิชา

2.2.2.3. 3. ครูผู้สอน

2.3. กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการนำหลักสูตรไปใช้

2.4. ขั้นตอนการนำหลักสูตรไปใช้

2.4.1. 1. ขั้นการเตรียมการใช้หลักสูตร

2.4.2. 2. ขั้นดำเนินการใช้หลักสูตร

2.4.3. 3. ขั้นติดตามและประเมินผล

3. หน่วยที่ 6 การประเมินหลักสูตร

3.1. ความสำคัญในการประเมินหลักสูตร

3.1.1. กระบวนการการเก็บรวบรวมข้อมูลและการประมวลผลข้อมูลเพื่อนำมาตัดสินใจเกี่ยวกับคุณภาพทั้งประสิทธิภาพและประเมินผลของหลักสูตรรวมถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นจากการใช้หลักสูตรนั้นในอนาคต

3.2. ประเภทของการประเมินหลักสูตร

3.2.1. 1.จัดแบ่งประเภทตามหลักที่อิงในการประเมิน

3.2.2. 2.จัดแบ่งประเภทตามวัตถุประสงค์การประเมิน

3.2.3. 3.จัดแบ่งประเภทตามช่วงเวลาของการประเมินหลักสูตร

3.3. ระยะของการประเมินหลักสูตร

3.3.1. ระยะที่ 1 การประเมินหลักสูตรก่อนนำหลักสูตรไปใช้

3.3.2. ระยะที่ 2 การประเมินหลักสูตรระหว่างการดำเนินการใช้หลักสูตร

3.3.3. ระยะที่ 3 การประเมินหลักสูตรหลังการใช้หลักสุตร

3.4. แบบจำลองในการประเมินหลักสูตร

4. หน่วยที่ 7 ปัญหาและแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตร

4.1. 1.ปัญหาขาดครูที่มีคุณสมบัติเหมาะสม

4.2. 2.ปัญหาการไม่ยอมรับและไม่เปลี่ยนแปลงบทบาทการสอนของครูตามแนวหลักสูตร

4.3. 3.ปัญหาการจัดอมรมครู ศูนย์การพัฒนาหลักสูตรไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน

4.4. 4.ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานต่างๆ

4.5. 5.ผู้บริหารต่างๆ ไม่สนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร

4.6. 6.ปัญหาขาดแคลนเอกสาร เนื่องจากขาดงบประมาณและการคมนาคมขนส่งไม่มีประสิทธืภาพพอทั้งนีเ้ปัญหาต่างๆเหล่านี้ ล้วนเกิดจากบุคลาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนไม่เข้าใจ

5. 1. จุดมุ่งหมายของหลักสูตร (Curriculum Aims)

6. หน่วยที่ 2 แนวคืดพื้นฐานทางด้านการศึกษาเพื่อการพัฒนาหลักสูตร

6.1. ปรัชญาการศึกษา

6.1.1. ปรัชญาการศึกษาเป็นปรัชญาที่ประยุกต์มาจากปรัชญาบริสุทธิ์ ดังนั้นลักษณะของปรัชญาการศึกษาก็จะมีความคล้ายคลึงกับปรัชญาบริสุทธิ์นั่นเอง กล่าวคือ ปรัชญาการศึกษาจะเกี่ยวข้องกับอภิปรัชญา (Metaphysics) ญาณวิทยา (Epistemology) และคุณวิทยา (Axiology) เช่นเดียวกันปรัชญาทั่วไป

6.2. ทฤษฎีทางการศึกษา

6.3. ประวัติความเป็นมาและระบบจัดการศึกษาของไทย

6.4. วิสัยทัศน์และแผนพัฒนาการศึกษาของชาติ

6.5. มาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานการอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษา

6.6. สี่เส้าหลักทางการศึกษา

6.6.1. 1. การเรียนเพื่อรู้

6.6.2. 2. การเรียนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริง

6.6.3. 3. การเรียนรู้เพื่อที่จะอยู่ร่วมกัน และการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่น

6.6.4. 4. การเรียนรู้เพื่อชีวิต

7. หน่วยที่ 3 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551

7.1. หลักสูตรที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดับการศึกษาที่ต่ำกว่าอุดมศึกษา โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความสมบูรณ์ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา อีกทั้ง มีความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากล

8. หน่วยที่ 1 มโนทัศน์พื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตร

8.1. ความหมายของหลักสูตร

8.1.1. หลักสูตรเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ทำให้ปรัชญาหรือความมุ่งหมายทางการศึกษา บรรลุความมุ่งหมายเพราะหลักสูตรเป็นตัวกำหนดทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ อีกทั้งเป็นการกำหนดแนวทางในการพัฒนา ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ เจตคติและค่านิยมในอันที่จะนำประเทศไปสู่ความเจริญในทุกๆด้าน

8.2. ความสำคัญของหลักสูตร

8.2.1. หลักสูตรเปรียบเสมือนตัวแม่บทหรือหัวใจของการศึกษาที่ถือเป็นแก่นสำคัญในการวางแนวทางการจัดการศึกษา เป็นตัวกำหนดทิศทางของการศึกษาในการที่จะให้ความรู้ การเสริมสร้างเจตคติ ตลอดทั้งการฝึกฝนในด้านต่างๆเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนารอบด้าน

8.3. องค์ประกอบของหลักสูตร

8.3.1. 2. เนื้อหา (Content)

8.3.2. 3. การนำหลักสูตรไปใช้ (Curriculum Implementation)

8.3.3. 4. การประเมินผลหลักสูตร (Evaluation)

8.4. ประเภทของหลักสูตร

8.4.1. 1. หลักสูตรเนื้อหาวิชา (Subject Matter Curriculum or Subject Centered Curriculum)

8.4.2. 2. หลักสูตรหมวดวิชา (Fusion or Fused Curriculum)

8.4.3. 3. หลักสูตรสัมพันธ์ (Correlation or Correlated Curriculum)

8.4.4. 4. หลักสูตรสหสัมพันธ์ (Broad Fields Curriculum)

8.4.5. 5. หลักสูตรแกนกลาง (Core Curriculum)

8.4.6. 6. หลักสูตรประสบการณ์ (Experience Curriculum)

8.4.7. 7. หลักสูตรบูรณาการ (Integration or Integrated Curriculum)

8.5. ลักษณะหลักสูตรที่ดี

8.5.1. มีทั้งหมด 17 ข้อ จะยกตัวอย่างมา 5 ข้อ ดังนี้

8.5.1.1. 1. ตรงตามความมุ่งหมายของการศึกษา 2. ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ 3. ตรงตามลักษณะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและเอกลักษณ์ของชาติ 4. มีเนื้อหาสาระของเรื่องสอนบริบูรณ์เพียงพอที่จะช่วยให้นักเรียนคิดเป็น ทำเป็นและมีพัฒนาการในทุกด้าน 5. สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของผู้เรียน