ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 (Lab.II) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 (Lab.II) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี by Mind Map: ปฏิบัติการเคมีทั่วไป  2 (Lab.II) อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

1. หลักการ

1.1. จลนพลศาสตร์ ศึกษาเกี่ยวกับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาและกลไกการเกิดปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาวัดได้จากการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่อหน่วยเวลา นิยมวัดเป็น โมลต่อลิตร ต่อวินาที

2. สารเคมีที่ใช้ในการทดลอง

2.1. โพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI)

2.2. แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต

2.3. โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl)

2.4. แอมโมเนียมซัลเฟต

2.5. โซเดียมไทโอซัลเฟต

2.6. คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต

2.7. น้ำแป้ง

3. วิธีการทดลอง แบ่งเป็น 3ตอนดังนี้

3.1. ตอนที่ 1 ศึกษาผลของความเข้มข้นต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และการหากฎอัตรา

3.2. ตอนที่ 2 ศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา และหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา

3.3. ตอนที่3 ศึกษาผลของสารตัวเร่ง

4. สมการที่เกี่ยวข้องกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา

4.1. 1.สมการดิฟเฟอเรนเชียล

4.2. 2.สมการอาร์เรเนียส

5. วัตถุประสงค์

5.1. 1.เพื่อศึกษาการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา

5.2. 2.เพื่อหากฎอัตราของปฏิกิริยาระหว่างไอออนเปอร์ออกซีไดซัลเฟต และไอออนไอโอไดด์

5.3. 3.เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฏิกิยา และหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฏิกิริยา

5.4. 4.เพื่อศึกษาผลของสารตัวเร่ง

6. ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา

6.1. 1.ธรรมชาติของสารตั้งต้น

6.2. 2.ความเข้มข้นของสารตั้งต้น

6.3. 3.อุณหภูมิ

6.4. 4.ตัวเร่ง (catalyst)

7. อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง

7.1. 1.ปิเปต (pipette) ขนาด 10 ลบ.ซม

7.2. 2.ขวดรูปชมพู่(erlenmeyer flask ) ขนาด250 ลบ.ซมและ 50ลบ.ซม อย่างละ 5 ใบ

7.3. 3.เทอร์โมมิเตอร์

7.4. 4.นาฬิกาจับเวลา