ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ by Mind Map: ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ

1. ระบบการเงินการคลัง

1.1. วัตถุประสงค์การจัดการการเงินการคลังทางสุขภาพ

1.1.1. 1.เพื่อให้เกิดความขัดแย้งที่พึ่งประสงค์

1.1.2. 2.เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสุขภาพ

1.1.3. 3.ส่งเสริมให้สถานประกอบการดูแลสุขภาพพนักงาน ลูกจ้าง

1.1.4. 4.สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ

1.1.5. มีมาตรการทางภาษีควบคุมการบริโภคยาสูบและสุรา

1.2. การจัดการการเงินการคลังที่มีประสิทธภาพ

1.2.1. ยั่งยืน (Sustainability)

1.2.2. เพียงพอ (Adeguacy)

1.2.3. เป็นธรรม (Fairness)

1.2.4. ประสิทธิภาพ (Efficienncy)

1.3. องค์ประกอบหลักของระบบการคลังเพื่อสุขภาพ

1.3.1. การซื้อบริการ (Purchasing)

1.3.2. การจัดเก็บรายได้ (Revenue collection)

1.3.3. การรวมเงินเข้าเป็รกองทุน (Fund pooling)

2. โครงสร้างองค์ประกอบของระบบบริการสุขภาพไทย

2.1. โครงสร้างองค์กรของระบบสุขภาพไทย โดยดูแลพื้นฐานการให้บริการประชาชน

2.1.1. เอกชน

2.1.1.1. องค์กรสาธารณะ

2.1.1.2. โรงพยาบาลเอกชน

2.1.2. รัฐบาล เช่น กระทรวงสาธารณสุข

2.1.2.1. โรงพยาบาลส่วนกลาง เช่น โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลเลิศสิน และโรงพยาบาลสงฆ์

2.1.2.2. โรงพยาบาลส่วนภูมิภาค เช่น โรงพยาบาลเฉพาะทาง (ระดับA) โรงพยาบาลศูนย์ (ระดับA) โรงพยาบาลทั่วไป (ระดับM1) โรงพยาบาลชุมชน(ระดับ M2 และ F1-F3) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล (ระดับP1-P3)

2.1.3. ความเชื่อมโยงกลไกระบบสุขภาพและระบบบริการสุขภาพแบบบูรณาการ

2.1.3.1. Service Plan

2.1.3.2. DHS : District Health System

3. การบริการสุขภาพ

3.1. จุดมุ่งหมายการจัดระบบบริการสุขภาพไทย มีองค์ประกอบครอบคลุม 4 ด้าน

3.1.1. การส่งเสริมสุขภาพ

3.1.2. การป้องกันและควบคุมโรค

3.1.3. การรักษาพยาบาล

3.1.4. การฟื้นฟูสมรรถภาพ

3.2. ระบบการให้บริการสุขภาพ

3.2.1. การบริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care Level)

3.2.1.1. ศูนย์บริการสาธารณสุขชุมชน (ศสช.)

3.2.1.1.1. การส่งเสริมสุขภาพ

3.2.1.1.2. การป้องกันและควบคุมโรค

3.2.1.2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล (รพสต.)

3.2.1.2.1. การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ร้อยละ 75

3.2.1.2.2. การรักษาพยาบาล ร้อยละ 25

3.2.1.3. โรงพยาบาลชุมชน (รพช.)

3.2.1.3.1. การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ร้อยละ 50

3.2.1.3.2. การรักษาพยาบาล ร้อยละ 50

3.2.2. การบริการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care Level)

3.2.2.1. โรงพยาบาลทั่วไประดับจังหวัด หรืออำเภอขนาดใหญ่

3.2.2.1.1. การรักษาพยาบาลและฟื้นฟู ร้อยละ 75

3.2.2.1.2. การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ร้อยละ 25

3.2.2.2. โรงพยาบาลเอกชนหรือคลินิกเอกชน

3.2.2.2.1. การรักษาพยาบาลและฟื้นฟู ร้อยละ 75

3.2.2.2.2. การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ร้อยละ 25

3.2.3. การบริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care Level)

3.2.3.1. โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่

3.2.3.2. โรงพยาบาลศูนย์

3.2.3.3. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย

3.2.3.4. ศูย์ความเป็นเลิศต่างๆ

4. แนวคิดและหลักการระบบสุขภาพไทย (คนเป็นสิ่งสำคัญในการขัลเคลื่อนระบบสุขภาพ)

4.1. การให้บริการ (Service Delivery)

4.2. บุคลากรสุขภาพ (Health Workforce)

4.3. ระบบสารสนเทศสุขภาพ (Health Information System)

4.4. ผลิตภัณฑ์การแพทย์ (Medical Product)

4.5. ระบบการเงินการคลัง (Financial System)

4.6. ภาวะผู้นำ และธรรมาภิบาล (Leadership/Governance)

5. ระบบบริการสุขภาพ

5.1. การจัดระบบบริการสุขภาพ

5.1.1. ปัจจัยนำเข้า

5.1.1.1. กำลังคนด้านสุขภาพ

5.1.1.2. สถานบริการด้านสุขภาพ

5.1.1.3. ยาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ

5.1.1.4. การเงินการคลังด้านสุขภาพ

5.1.2. ผลลัพธ์

5.1.2.1. การเข้าถึงบริการสุขภาพ

5.1.2.2. ประสิทธิภาพและคุณภาพบริการสุขภาพ

5.1.2.3. ความเป็นธรรมของระบบบริการสุขภาพ

5.2. ระบบบริการสุขภาพไทย

5.2.1. ยุคแรก พ.ศ.2431-2492 ริเริ่มการแพทย์แผนปัจจุบัน ตั้งโรงเรียนแพทย์ที่โรงพยาบาลศิริราช ตั้งกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2485 มีสถานีอนามัยชั้นหนึ่งระดับอำเภอ สร้างโรงพยาบาลจังหวัดตามจังหวัดชายขอบ 15 แห่ง

5.2.2. ยุคที่สอง พ.ศ.2493-2517 เริ่มวางพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่1 การขยายสถานีอนามัยเพิ่มขึ้น สถานบริการเอกชน มีการปฏิรูปกระทรวงสาธารณสุขครั้งใหญ่ แพทย์ไทยลาออกไปทำงานที่สหรัฐอเมริกาจำนวนมาก

5.2.3. ยุคที่สาม พ.ศ.2518-2543 ขยายบริการสาธารณสุขในชนบท นำ Health for all (HFA) ไปพัฒนาสุขภาพของชุมชน เกิดชมรมแพทย์ชุมชนและองค์กรที่ไม่ใช่ภาครัฐ (NGOs) ศูนย์การแพทย์อนามัยชนบท การประกันสุขภาพสำหรับคนจน เกิดสถาบันใหม่ เช่น สกว. สวรส. กฏหมายควบคุมการบริโภคบุหรี่และคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่

5.2.4. ยุคที่สี พ.ศ.2544-ปัจจุบัน มีพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ และมีสำนักงานหลัประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช)และมี ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

5.2.5. ยุคที่ห้า อนาคตระบบบริการสุขภาพไทย สร้าง Home health care และ Community care เพิ่มมิติด้าน"การแพทย์ที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์"

6. ทรัพยากรทางสุขภาพ

6.1. บุคลากรด้านสุขภาพ

6.2. แหล่งงบประมาณ

6.3. สถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ์ด้านสาธารณสุข

6.4. องค์ความรู้ด้านสาธารณสุข