การแยกสลายด้วยไฟฟ้า

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การแยกสลายด้วยไฟฟ้า by Mind Map: การแยกสลายด้วยไฟฟ้า

1. กฎของฟาราเดย์

1.1. ในการทำการแยกสลายด้วยไฟฟ้า น้ำหนักของสารที่เกิดขึ้นหรือหายไปที่ขั้วไฟฟ้า ในสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณไฟฟ้า ที่ป้อนเข้าไปในสารละลายนั้น

1.1.1. ปริมาณไฟฟ้า 96,500 คูลอมบ์ จะเท่ากับ ปริมาณไฟฟ้าของประจุอิเล็กตรอน 1 โมล จะมีค่าเท่ากับปริมาณสารที่เกิดขึ้นหรือลดลงจำนวน 1 โมล

2. ตัวกำหนดปริมาณผลิตภัณฑ์

2.1. ปริมาณไฟฟ้า Q (หน่วยเป็น คูลอมบ์,C) กระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้กับเซลล์,I (หน่วยเป็น แอมแปร์,A) เวลาที่ใช้,t (หน่วยเป็น วินาที,sec)

2.1.1. Q = It

3. ความสัมพันธ์

3.1. ค่าความต่างศักย์ที่ป้อนเข้าไปให้กับเซลล์แล้วเกิดกระบวนการแยกสลายด้วยไฟฟ้าขึ้น เรียกว่า ศักย์ไฟฟ้าของการสลายตัว (decompostion potential)

4. ความหมาย

4.1. การทำให้เซลล์ไฟฟ้าเคมีที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็นลบ เกิดปฏิกิริยาขึ้น โดยอาศัยพลังงานไฟฟ้าจากภายนอก

5. ส่วนประกอบสำคัญ

5.1. เซลล์อิเล็กโทรไลติก

5.1.1. แหล่งให้พลังงานไฟฟ้า ขั้วไฟฟ้า(electrode) และสารละลายอิเล็กโทรไลต์ (electrolyte) คือ สารละลายที่มีสมบัตินำไฟฟ้าได้

5.1.2. ขั้วไฟฟ้าในเซลล์ชนิดนี้ คือ แอโนด (Anode) คือ ขั้วที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน และขั้วแคโทด (Cathode) คือ ขั้วที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน

6. หลักการ

6.1. ในการต่อระบบเซลล์ไฟฟ้าเคมี หากแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์ มีค่าเป็นบวก แสดงว่า เซลล์ไฟฟ้า สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ แต่ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าของเซลล์มีค่าเป็นลบ คือ เซลล์ไฟฟ้าไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ หรือ ไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นภายในเซลล์